+66 25 121 941
+66 25 121 941
+66 92 854 8800
ratchadalawfirm32@gmail.com
Facebook
Ratchada Law Firm
หน้าแรก
ทนายความ
งานบริการ
บริการทนายความ
ทนายความคดีกู้ยืมเงิน
ทนายความคดีผิดสัญญา
ทนายคดีซื้อขาย
ทนายความคดีเช่าทรัพท์,เช่าซื้อ
ทนายความคดีค้ำประกัน
ทนายคดีจำนอง,ทนายคดีจำนำ
ทนายคดีประกันภัย
ทนายคดีเช็ค,ทนายคดีตั๋วแลกเงิน,ทนายคดีตั๋วสัญญาใช้เงิน
ทนายความคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน
ทนายคดีบัตรเครดิต
ทนายความคดีที่,กรรมสิทธิ์ที่ดิน,ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
สาระสำคัญของคดีความผิดต่อชีวิต
ทนายคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ทนายความคดีความผิดต่อร่างกาย
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างการผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายและจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้รับอันตรายสาหัส
ทนายคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายคดีความผิดฐานชิงทรัพท์
ทนายคดีความผิดฐานปล้นทรัพท์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพท์
ทนายความคดีฐานฉ้อโกง
บริการติดตามทวงหนี้
บริการด้านจดทะเบียนธุรกิจ
บริการทางการบัญชี-ภาษีอากร
บริการทางด้านบัญชีเพื่อการบริหาร
บริการวางระบบบัญชี
บริการวิเคราะห์งบการเงิน
บริการจดทะเบียนธุรกิจ
การสืบสวน
บทความ
บทความบุตรนอกสมรสกับสิทธิในการรับมรดกของบิดา
บทความสิทธิของผู้ใช้บริการ
บทความการค้ำประกัน
คดีความยาบ้า ยาเสพติด ใส่รูปยาเสพติด
บทความคดีเพ่ง
บทความละเมิดสัญญาและเก็บทรัพย์สินทางปัญญา
บทความทนายความจำเลยในคดีอาญา
บทความใส่ร้ายทนายความ
บทความกฎหมายแรงงานและการจ้างงาน
ส่งผู้ร้ายข้ามแดนคืออะไร?
กรณีตายผิดศีลธรรม
การบอกเลิกสัญญาโดยมิชอบ
คดีความ
คดีแพ่ง
คดีกู้ยืมเงิน
คดีผิดสัญญา
คดีซื้อขาย
คดีเช่าทรัพท์, เช่าซื้อ
คดีค้ำประกัน
คดีจำนอง,จำนำ
คดีประกันภัย
คดีเช็ค,ตั๋วแลกเงิน, ตั๋วสัญญาใช้เงิน
คดีทรัพท์สิน
คดีบัตรเครดิต
คดีที่ดิน, กรรมสิทธิ์ที่ดิน, ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
คดีอาญา
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
คดีความต่อร่างกาย
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้ได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความผิดฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานชิงทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานปล้นทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานฉ้อโกง
ทนายความคดีความผิดฐานยักยอกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานรับของโจร
คดีครอบครัว
คดีฟ้องหย่า
คดีจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
คดีหย่า ที่ต้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดู บุตรหรือคู่สมรส
คดีแบ่งทรัพย์สินระหว่างคู่สมรส
คดีเรียกของหมั้นหรือสินสอดคืน
คดีผิดสัญญาหมั้น
คดีมรดก
คดีจัดการมรดก
คดีจัดทำพินัยกรรม
คดีร้องขอแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
คดีผู้จัดการมรดกเฉพาะส่วน
คดีร้องขอถอดถอนผู้จัดการมรดก
คดีภาษี
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีสอบสวนพิเศษ
ทนายความคดีเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
คดีล้มละลายและคดีฟื้นฟูกิจการ
อสังหาริมทรัพย์
การซื้อที่ดินและทรัพย์สินในประเทศไทย
กรรมสิทธิ์ที่ดินและภาษี
วิธีการที่ บริษัท ไทยสามารถซื้อที่ดิน
การเป็นเจ้าของธุรกิจต่างประเทศ
ผู้ถือหุ้น
สิทธิเก็บกิน
คอนโดมิเนียม
เช่าที่ดิน
วีซ่า
บริการขอวีซ่าและเวิร์คเพอร์มิท
ประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร (Transit Visa)
ประเภทนักท่องเที่ยว (Tourist Visa)
ประเภทคนอยู่ชั่วคราว (Non-Immigrant Visa)
ประเภทฑูต (Diplomatic Visa)
ประเภทราชการ (Offical Visa)
ประเภทอัธยาศัยไมตรี (Courtesy Visa)
ใบอนุญาตทำงานหรือ WORK PERMIT
วีซ่าแต่งงาน
รายละเอียดสำหรับการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นอยู่ในราชอาณาจักร
การยื่นต่ออายุวีซ่า
วีซ่าเกษียณอายุ
บริการแปลเอกสารทุกประเภทและล่ามสื่อสาร 5 ภาษา
บริการรายงานตัวแทน
บริการรายงานตัวแทน
ติดต่อเรา
Menu
หน้าแรก
ทนายความ
งานบริการ
บริการทนายความ
ทนายความคดีกู้ยืมเงิน
ทนายความคดีผิดสัญญา
ทนายคดีซื้อขาย
ทนายความคดีเช่าทรัพท์,เช่าซื้อ
ทนายความคดีค้ำประกัน
ทนายคดีจำนอง,ทนายคดีจำนำ
ทนายคดีประกันภัย
ทนายคดีเช็ค,ทนายคดีตั๋วแลกเงิน,ทนายคดีตั๋วสัญญาใช้เงิน
ทนายความคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน
ทนายคดีบัตรเครดิต
ทนายความคดีที่,กรรมสิทธิ์ที่ดิน,ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
สาระสำคัญของคดีความผิดต่อชีวิต
ทนายคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ทนายความคดีความผิดต่อร่างกาย
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างการผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายและจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้รับอันตรายสาหัส
ทนายคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายคดีความผิดฐานชิงทรัพท์
ทนายคดีความผิดฐานปล้นทรัพท์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพท์
ทนายความคดีฐานฉ้อโกง
บริการติดตามทวงหนี้
บริการด้านจดทะเบียนธุรกิจ
บริการทางการบัญชี-ภาษีอากร
บริการทางด้านบัญชีเพื่อการบริหาร
บริการวางระบบบัญชี
บริการวิเคราะห์งบการเงิน
บริการจดทะเบียนธุรกิจ
การสืบสวน
บทความ
บทความบุตรนอกสมรสกับสิทธิในการรับมรดกของบิดา
บทความสิทธิของผู้ใช้บริการ
บทความการค้ำประกัน
คดีความยาบ้า ยาเสพติด ใส่รูปยาเสพติด
บทความคดีเพ่ง
บทความละเมิดสัญญาและเก็บทรัพย์สินทางปัญญา
บทความทนายความจำเลยในคดีอาญา
บทความใส่ร้ายทนายความ
บทความกฎหมายแรงงานและการจ้างงาน
ส่งผู้ร้ายข้ามแดนคืออะไร?
กรณีตายผิดศีลธรรม
การบอกเลิกสัญญาโดยมิชอบ
คดีความ
คดีแพ่ง
คดีกู้ยืมเงิน
คดีผิดสัญญา
คดีซื้อขาย
คดีเช่าทรัพท์, เช่าซื้อ
คดีค้ำประกัน
คดีจำนอง,จำนำ
คดีประกันภัย
คดีเช็ค,ตั๋วแลกเงิน, ตั๋วสัญญาใช้เงิน
คดีทรัพท์สิน
คดีบัตรเครดิต
คดีที่ดิน, กรรมสิทธิ์ที่ดิน, ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
คดีอาญา
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
คดีความต่อร่างกาย
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้ได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความผิดฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานชิงทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานปล้นทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานฉ้อโกง
ทนายความคดีความผิดฐานยักยอกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานรับของโจร
คดีครอบครัว
คดีฟ้องหย่า
คดีจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
คดีหย่า ที่ต้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดู บุตรหรือคู่สมรส
คดีแบ่งทรัพย์สินระหว่างคู่สมรส
คดีเรียกของหมั้นหรือสินสอดคืน
คดีผิดสัญญาหมั้น
คดีมรดก
คดีจัดการมรดก
คดีจัดทำพินัยกรรม
คดีร้องขอแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
คดีผู้จัดการมรดกเฉพาะส่วน
คดีร้องขอถอดถอนผู้จัดการมรดก
คดีภาษี
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีสอบสวนพิเศษ
ทนายความคดีเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
คดีล้มละลายและคดีฟื้นฟูกิจการ
อสังหาริมทรัพย์
การซื้อที่ดินและทรัพย์สินในประเทศไทย
กรรมสิทธิ์ที่ดินและภาษี
วิธีการที่ บริษัท ไทยสามารถซื้อที่ดิน
การเป็นเจ้าของธุรกิจต่างประเทศ
ผู้ถือหุ้น
สิทธิเก็บกิน
คอนโดมิเนียม
เช่าที่ดิน
วีซ่า
บริการขอวีซ่าและเวิร์คเพอร์มิท
ประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร (Transit Visa)
ประเภทนักท่องเที่ยว (Tourist Visa)
ประเภทคนอยู่ชั่วคราว (Non-Immigrant Visa)
ประเภทฑูต (Diplomatic Visa)
ประเภทราชการ (Offical Visa)
ประเภทอัธยาศัยไมตรี (Courtesy Visa)
ใบอนุญาตทำงานหรือ WORK PERMIT
วีซ่าแต่งงาน
รายละเอียดสำหรับการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นอยู่ในราชอาณาจักร
การยื่นต่ออายุวีซ่า
วีซ่าเกษียณอายุ
บริการแปลเอกสารทุกประเภทและล่ามสื่อสาร 5 ภาษา
บริการรายงานตัวแทน
บริการรายงานตัวแทน
ติดต่อเรา
Attorney of
Civil case
Criminal law case
Family Law case
Heritage case
Criminal Law case
Administrative case
Taxes Law case
บริษัทกฏหมายที่มีความน่าเชื่อถือใน ประเทศไทย
เรทราคาที่ยอมรับได้
ทุกปัญหา
ทางกฏหมาย สามารถติดต่อปรึกษาได้ ฟรี!
เริ่มต้นกับเราวันนี้
Please enable JavaScript in your browser to complete this form.
Website
Submit
ทนายความคดีเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
สาระสำคัญของกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
1. การสอบสวนคดีพิเศษนั้นมีกฎหมายบัญญัติรับรองอยู่ตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ.2547 อันมีผลบังคับเมื่อวันที่ วันที่ 14มกราคม พ.ศ. 2547 อันเป็นวันถัดจากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้น ไป
2. คำนิยามศัพท์ที่สำคัญ (ตามมาตรา 3)
“คดีพิเศษ” หมายความว่า คดีความผิดทางอาญาตามที่กำหนดไว้ในมาตรา ๒๑
“พนักงานสอบสวนคดีพิเศษ” หมายความว่า อธิบดี รองอธิบดี และผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้มีอำนาจและหน้าที่ สืบสวนและสอบสวนคดีพิเศษตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้
“เจ้าหน้าที่คดีพิเศษ” หมายความว่า ผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้ช่วยเหลือพนักงานสอบสวนคดีพิเศษในการ สืบสวนและสอบสวนคดีพิเศษตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้
3. ให้มีคณะกรรมการคดีพิเศษ เรียกโดยย่อว่า “กคพ.” ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมเป็นรองประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัด กระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงพาณิชย์ อัยการสูงสุด ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เลขาธิการคณะกรรมการ กฤษฎีกา เจ้ากรมพระธรรมนูญ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย นายกสภาทนายความ และกรรมการผู้ทรง คุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจำนวนเก้าคน และในจำนวนนี้ต้องมีบุคคลซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญในด้าน เศรษฐศาสตร์ การเงินการธนาคาร เทคโนโลยีสารสนเทศหรือกฎหมาย อย่างน้อยด้านละหนึ่งคนเป็นกรรมการ ตามมาตรา 5 วรรคหนึ่ง
ให้อธิบดีเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้อธิบดีแต่งตั้งข้าราชการในกรมสอบสวนคดีพิเศษจำนวนไม่ เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ ตามมาตรา 5 วรรคสอง
4. ให้ กคพ. มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (ตามมาตรา 10 วรรคหนึ่ง)
(1) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงกำหนดคดีพิเศษตามมาตรา 21 วรรคหนึ่ง (1)
(2) กำหนดรายละเอียดของลักษณะของการกระทำความผิดตามมาตรา 21 วรรคหนึ่ง (1)
(3) มีมติเกี่ยวกับคดีความผิดทางอาญาอื่นตามมาตรา 21 วรรคหนึ่ง (1)
(4) กำหนดข้อบังคับหรือหลักเกณฑ์ตามที่มีบทบัญญัติกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของ กคพ.
(5) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
(6) ให้ความเห็นชอบหลักสูตรสอบสวนคดีพิเศษ
(7) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของ กคพ. รายละเอียดของลักษณะของการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่ง (2) มติตามวรรคหนึ่ง (3) และข้อบังคับหรือหลัก เกณฑ์ตามวรรคหนึ่ง (4) ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ตามมาตรา 10 วรรคสอง)
5. ให้กรมสอบสวนคดีพิเศษ มีพนักงานสอบสวนคดีพิเศษและเจ้าหน้าที่คดีพิเศษเพื่อทำหน้าที่ดำเนินการเกี่ยว กับคดีพิเศษตามที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้ ตามมาตรา 14
6. คดีพิเศษที่จะต้องดำเนินการสืบสวนและสอบสวนตามพระราชบัญญัตินี้ ได้แก่คดีความผิดทางอาญาดังต่อไป นี้(ตามมาตรา 21 วรรคหนึ่ง)
(1) คดีความผิดทางอาญาตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้ และที่กำหนดในกฎ กระทรวงโดยการเสนอแนะของ กคพ. โดยคดีความผิดทางอาญาตามกฎหมายดังกล่าว จะต้องมีลักษณะอย่าง หนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
(ก) คดีความผิดทางอาญาที่มีความซับซ้อน จำเป็นต้องใช้วิธีการสืบสวนสอบสวนและรวบรวมพยานหลักฐาน เป็นพิเศษ
(ข) คดีความผิดทางอาญาที่มีหรืออาจมีผลกระทบอย่างรุนแรงต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของ ประชาชน ความมั่นคงของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหรือระบบเศรษฐกิจหรือการคลังของประเทศ
(ค) คดีความผิดทางอาญาที่มีลักษณะเป็นการกระทำความผิดข้ามชาติที่สำคัญหรือเป็นการกระทำขององค์กร อาชญากรรม
(ง) คดีความผิดทางอาญาที่มีผู้ทรงอิทธิพลที่สำคัญเป็นตัวการ ผู้ใช้หรือผู้สนับสนุน
(จ) คดีความผิดทางอาญาที่มีพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่ซึ่งมิใช่พนักงานสอบสวนคดีพิเศษ หรือเจ้าหน้าที่คดีพิเศษเป็นผู้ต้องสงสัยเมื่อมีหลักฐานตามสมควรว่าน่าจะได้กระทำความผิดอาญาหรือเป็นผู้ถูก กล่าวหาหรือผู้ต้องหา
ทั้งนี้ ตามรายละเอียดของลักษณะของการกระทำความผิดที่ กคพ. กำหนด
(2) คดีความผิดทางอาญาอื่นนอกจาก (1) ตามที่ กคพ. มีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของ กรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
ในคดีที่มีการกระทำอันเป็นกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท และบทใดบทหนึ่งจะต้องดำเนินการโดย พนักงานสอบสวนคดีพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้ หรือคดีที่มีการกระทำความผิดหลายเรื่องต่อเนื่องหรือเกี่ยว พันกัน และความผิดเรื่องใดเรื่องหนึ่งจะต้องดำเนินการโดยพนักงานสอบสวนคดีพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษมีอำนาจสืบสวนสอบสวนสำหรับความผิดบทอื่นหรือเรื่องอื่นด้วย และให้ถือว่าคดี ดังกล่าวเป็นคดีพิเศษ ตามมาตรา 21 วรรคสอง
บรรดาคดีใดที่ได้ทำการสอบสวนเสร็จแล้วโดยพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ ให้ถือว่าการสอบสวนนั้นเป็นการ สอบสวนในคดีพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้แล้ว ตามมาตรา 21 วรรคสาม บทบัญญัติในมาตรานี้ให้ใช้บังคับกับบุคคลที่เป็นตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุนการกระทำความผิดด้วย ตาม มาตรา 21 วรรคสี่
ในกรณีที่มีข้อโต้แย้งหรือข้อสงสัยว่าการกระทำความผิดใดเป็นคดีพิเศษตามที่กำหนดไว้ในวรรคหนึ่ง (1) หรือ ไม่ ให้ กคพ. เป็นผู้ชี้ขาด ตามมาตรา 21 วรรคท้าย
7. ในกรณีที่ผู้กระทำความผิดอันเป็นคดีพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมิได้เป็นบุคคลตาม มาตรา 66 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 และอยู่ในอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ให้พนักงานสอบสวนคดี พิเศษส่งเรื่องไปยังคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีการ ร้องทุกข์หรือกล่าวโทษ ตามมาตรา 21/1 วรรคหนึ่ง
ในระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หากคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติยังมิได้มีมติอย่างใดอย่างหนึ่งให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษมีอำนาจ ทำการสอบสวนไปพลางก่อนได้ ตามมาตรา 21/1 วรรคสอง
ในกรณีที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีมติรับคดีพิเศษตามวรรคหนึ่งไว้ดำเนินการ ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษส่ง สำนวนการสอบสวนและพยานหลักฐานที่ได้มาจากการสอบสวนตามวรรคสองไปยังคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ในการนี้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติอาจถือสำนวน การสอบสวนของพนักงานสอบสวนคดีพิเศษเป็นส่วนหนึ่งของการไต่สวนข้อเท็จจริงได้ ตามมาตรา 21/1 วรรค สาม
ในกรณีที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพิจารณาแล้วเห็นสมควรส่งเรื่องให้ พนักงานสอบสวนคดีพิเศษเป็นผู้ดำเนินการ ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษดำเนินการตามกฎหมายต่อไป ตาม มาตรา 21/1 วรรคท้าย
8. เพื่อประโยชน์ในการประสานการปฏิบัติงานป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับคดีพิเศษ ให้ กคพ. มีอำนาจออกข้อบังคับการปฏิบัติหน้าที่ในคดีพิเศษระหว่างหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ (ตาม มาตรา 22 วรรคหนึ่ง)
(1) วิธีปฏิบัติระหว่างหน่วยงานเกี่ยวกับการรับคำร้องทุกข์หรือคำกล่าวโทษ การดำเนินการเกี่ยวกับหมายเรียก และหมายอาญา การจับ การควบคุม การขัง การค้น หรือการปล่อยชั่วคราว การสืบสวน การสอบสวน การ เปรียบเทียบปรับ การส่งมอบคดีพิเศษ และการดำเนินการอื่นเกี่ยวกับคดีอาญาในระหว่างหน่วยงานของรัฐที่มี อำนาจหน้าที่ป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดอาญา
(2) ขอบเขตความรับผิดชอบของพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ เจ้าพนักงานอื่นของรัฐ พนักงานสอบสวน คดีพิเศษ และเจ้าหน้าที่คดีพิเศษ ในการสืบสวนและสอบสวนคดีพิเศษ ทั้งนี้ เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะการ ปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐแต่ละแห่ง ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านผลกระทบของการกระทำความผิด และ ประสิทธิภาพในการป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดอาญาได้อย่างทั่วถึง ในการนี้อาจกำหนดให้ กรณีใดต้องดำเนินการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้วยก็ได้
(3) การแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามคดีพิเศษ
(4) การสนับสนุนของหน่วยงานของรัฐ และเจ้าหน้าที่ของรัฐในการปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการสืบสวนและ สอบสวนคดีพิเศษ
เมื่อมีข้อบังคับตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้หน่วยงานของรัฐมีหน้าที่ปฏิบัติตามข้อบังคับที่กำหนดนั้น ถ้าข้อบังคับดัง กล่าวเป็นการกำหนดหน้าที่ในระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เป็นเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ หรือ พนักงานสอบสวนในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ให้ถือว่าการ ดำเนินการของเจ้าหน้าที่ของรัฐดังกล่าวในส่วนที่เกี่ยวข้องเป็นการดำเนินการของผู้มีอำนาจหน้าที่สืบสวนและ สอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ตามมาตรา 22 วรรคสอง
ในระหว่างที่ยังไม่มีข้อบังคับตามวรรคหนึ่ง สำหรับคดีพิเศษในเรื่องใด ให้การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของ รัฐเพื่อให้เป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเกี่ยวกับการสืบสวนและสอบสวนคดีพิเศษในเรื่อง นั้นเป็นไปตามที่กรมสอบสวนคดีพิเศษและหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องจะตกลงกัน เว้นแต่ กคพ. จะมีมติเป็น อย่างอื่น ตามมาตรา 22 วรรคสาม
ในกรณีที่พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได้ทำการสอบสวนคดีอาญาเรื่องใด ไปแล้ว แต่ต่อมาปรากฏว่าคดีนั้นเป็นคดีพิเศษ เมื่อพนักงานสอบสวนส่งมอบสำนวนการสอบสวนคดีดังกล่าวให้ พนักงานสอบสวนคดีพิเศษตามวิธีปฏิบัติในวรรคหนึ่ง (1) แล้ว ให้ถือว่าสำนวนการสอบสวนที่ส่งมอบนั้นเป็น ส่วนหนึ่งของสำนวนการสอบสวนคดีพิเศษ ตามมาตรา 22 วรรคท้าย
9. เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษมีอำนาจดังต่อไปนี้ ด้วย(ตามมาตรา 24 วรรคหนึ่ง)
(1) เข้าไปในเคหสถาน หรือสถานที่ใด ๆ เพื่อตรวจค้น เมื่อมีเหตุสงสัยตามสมควรว่ามีบุคคลที่มีเหตุสงสัยว่า กระทำความผิดที่เป็นคดีพิเศษหลบซ่อนอยู่ หรือมีทรัพย์สินซึ่งมีไว้เป็นความผิดหรือได้มาโดยการกระทำความ ผิด หรือได้ใช้หรือจะใช้ในการกระทำความผิดที่เป็นคดีพิเศษ หรือซึ่งอาจใช้เป็นพยานหลักฐานได้ ประกอบกับ มีเหตุอันควรเชื่อว่าเนื่องจากการเนิ่นช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้บุคคลนั้นจะหลบหนีไป หรือทรัพย์สินนั้นจะถูก โยกย้าย ซุกซ่อน ทำลาย หรือทำให้เปลี่ยนสภาพไปจากเดิม
(2) ค้นบุคคล หรือยานพาหนะที่มีเหตุสงสัยตามสมควรว่ามีทรัพย์สินซึ่งมีไว้เป็นความผิดหรือได้มาโดยการกระ ทำความผิด หรือได้ใช้หรือจะใช้ในการกระทำความผิดที่เป็นคดีพิเศษ หรือซึ่งอาจใช้เป็นพยานหลักฐานได้
(3) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกให้สถาบันการเงิน ส่วนราชการ องค์การ หรือหน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ส่งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องมาเพื่อให้ถ้อยคำ ส่งคำชี้แจงเป็นหนังสือ หรือส่งบัญชีเอกสาร หรือหลักฐานใด ๆ มา เพื่อตรวจสอบ หรือเพื่อประกอบการพิจารณา
(4) มีหนังสือสอบถาม หรือเรียกบุคคลใด ๆ มาเพื่อให้ถ้อยคำ ส่งคำชี้แจงเป็นหนังสือ หรือส่งบัญชีเอกสาร หรือ หลักฐานใด ๆ มาเพื่อตรวจสอบ หรือเพื่อประกอบการพิจารณา
(5) ยึด หรืออายัดทรัพย์สินที่ค้นพบ หรือที่ส่งมาดังกล่าวไว้ใน (1) (2) (3) และ (4) การใช้อำนาจตามวรรคหนึ่ง ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษปฏิบัติตามข้อบังคับที่ กคพ. กำหนด ตามมาตรา 24 วรรคสอง
เฉพาะการใช้อำนาจตามวรรคหนึ่ง (1) นอกจากพนักงานสอบสวนคดีพิเศษต้องดำเนินการเกี่ยวกับวิธีการค้น ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแล้ว ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษแสดงความบริสุทธิ์ก่อนการ เข้าค้น รายงานเหตุผลและผลการตรวจค้นเป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป และบันทึกเหตุสงสัยตาม สมควรและเหตุอันควรเชื่อที่ทำให้สามารถเข้าค้นได้เป็นหนังสือให้ไว้แก่ผู้ครอบครองเคหสถานหรือสถานที่ค้น แต่ถ้าไม่มีผู้ครอบครองอยู่ ณ ที่นั้น ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษส่งมอบสำเนาหนังสือนั้นให้แก่ผู้ครอบครอง ดังกล่าวในทันทีที่กระทำได้ และหากเป็นการเข้าค้นในเวลากลางคืนภายหลังพระอาทิตย์ตก พนักงานสอบสวน คดีพิเศษผู้เป็นหัวหน้าในการเข้าค้นต้องเป็นข้าราชการพลเรือนตำแหน่งตั้งแต่ระดับ 7 ขึ้นไปด้วย ตามมาตรา 24 วรรคสาม
ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษผู้เป็นหัวหน้าในการเข้าค้นส่งสำเนาบันทึกเหตุสงสัยตามสมควรและเหตุอันควร เชื่อตามวรรคสาม และสำเนาบันทึกการตรวจค้นและบัญชีทรัพย์ที่ยึดหรืออายัดต่อศาลจังหวัดที่มีอำนาจเหนือ ท้องที่ที่ทำการค้น หรือศาลอาญาในเขตกรุงเทพมหานครภายในสี่สิบแปดชั่วโมงหลังจากสิ้นสุดการตรวจค้น เพื่อเป็นหลักฐาน ตามมาตรา 24 วรรคสี่
พนักงานสอบสวนคดีพิเศษระดับใดจะมีอำนาจหน้าที่ตามที่ได้กำหนดไว้ตามวรรคหนึ่งทั้งหมดหรือแต่บางส่วน หรือจะต้องได้รับอนุมัติจากบุคคลใดก่อนดำเนินการให้เป็นไปตามที่อธิบดีกำหนด โดยทำเอกสารให้ไว้ประจำ ตัวพนักงานสอบสวนคดีพิเศษผู้ได้รับอนุมัตินั้นและพนักงานสอบสวนคดีพิเศษผู้นั้นต้องแสดงเอกสารดังกล่าว ต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกครั้ง ตามมาตรา 24 วรรคท้าย
หน้าที่ของทนายความคดีเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
1. เตรียมคดี ตรวจอบข้อมูลข้อเท็จจริงจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้านให้มากที่สุด
2. ตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อยของเอกสาร เพราะคดีเกี่ยวกับการสอบสวนคดีพิเศษอาจจะต้องมีเอกสารทั้ง ที่เป็นเอกสารสิทธิ หรือเอกสารมหาชน หรือเอกสารราชการที่เข้ามาเกี่ยวข้องจำนวนมาก เช่น เอกสารเกี่ยวกับ สูตรทางเคมีของยาที่ถูกควบคุม เอกสารเกี่ยวกับการรับจ่ายเงิน เป็นต้น
3. ค้นหาข้อกฎหมาย คำพิพากษาศาลที่เกี่ยวข้อง เบื้องต้นว่าเป็นอำนาจหน้าที่ของพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ หรือไม่ และระเบียบขั้นตอนการดำเนินการตามกฎหมายดังกล่าวด้วย รวมถึงตรวจสอบอายุความหรือระยะ เวลาในการดำเนินคดีของลูกความ
4. ติดตามผลคดีอย่างสม่ำเสมอ ทั้งในชั้นชี้แจงต่อพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ และชั้นศาล เพื่อรักษาประโยชน์ สูงสุดของลูกความ
5. ให้คำปรึกษาแนะนำอย่างถูกต้องครบถ้วนเพียงพอเพื่อให้ลูกความนำไปใช้ตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและไม่ เสียประโยชน์