+66 25 121 941
+66 25 121 941
+66 92 854 8800
ratchadalawfirm32@gmail.com
Facebook
Ratchada Law Firm
หน้าแรก
ทนายความ
งานบริการ
บริการทนายความ
ทนายความคดีกู้ยืมเงิน
ทนายความคดีผิดสัญญา
ทนายคดีซื้อขาย
ทนายความคดีเช่าทรัพท์,เช่าซื้อ
ทนายความคดีค้ำประกัน
ทนายคดีจำนอง,ทนายคดีจำนำ
ทนายคดีประกันภัย
ทนายคดีเช็ค,ทนายคดีตั๋วแลกเงิน,ทนายคดีตั๋วสัญญาใช้เงิน
ทนายความคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน
ทนายคดีบัตรเครดิต
ทนายความคดีที่,กรรมสิทธิ์ที่ดิน,ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
สาระสำคัญของคดีความผิดต่อชีวิต
ทนายคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ทนายความคดีความผิดต่อร่างกาย
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างการผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายและจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้รับอันตรายสาหัส
ทนายคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายคดีความผิดฐานชิงทรัพท์
ทนายคดีความผิดฐานปล้นทรัพท์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพท์
ทนายความคดีฐานฉ้อโกง
บริการติดตามทวงหนี้
บริการด้านจดทะเบียนธุรกิจ
บริการทางการบัญชี-ภาษีอากร
บริการทางด้านบัญชีเพื่อการบริหาร
บริการวางระบบบัญชี
บริการวิเคราะห์งบการเงิน
บริการจดทะเบียนธุรกิจ
การสืบสวน
บทความ
บทความบุตรนอกสมรสกับสิทธิในการรับมรดกของบิดา
บทความสิทธิของผู้ใช้บริการ
บทความการค้ำประกัน
คดีความยาบ้า ยาเสพติด ใส่รูปยาเสพติด
บทความคดีเพ่ง
บทความละเมิดสัญญาและเก็บทรัพย์สินทางปัญญา
บทความทนายความจำเลยในคดีอาญา
บทความใส่ร้ายทนายความ
บทความกฎหมายแรงงานและการจ้างงาน
ส่งผู้ร้ายข้ามแดนคืออะไร?
กรณีตายผิดศีลธรรม
การบอกเลิกสัญญาโดยมิชอบ
คดีความ
คดีแพ่ง
คดีกู้ยืมเงิน
คดีผิดสัญญา
คดีซื้อขาย
คดีเช่าทรัพท์, เช่าซื้อ
คดีค้ำประกัน
คดีจำนอง,จำนำ
คดีประกันภัย
คดีเช็ค,ตั๋วแลกเงิน, ตั๋วสัญญาใช้เงิน
คดีทรัพท์สิน
คดีบัตรเครดิต
คดีที่ดิน, กรรมสิทธิ์ที่ดิน, ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
คดีอาญา
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
คดีความต่อร่างกาย
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้ได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความผิดฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานชิงทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานปล้นทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานฉ้อโกง
ทนายความคดีความผิดฐานยักยอกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานรับของโจร
คดีครอบครัว
คดีฟ้องหย่า
คดีจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
คดีหย่า ที่ต้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดู บุตรหรือคู่สมรส
คดีแบ่งทรัพย์สินระหว่างคู่สมรส
คดีเรียกของหมั้นหรือสินสอดคืน
คดีผิดสัญญาหมั้น
คดีมรดก
คดีจัดการมรดก
คดีจัดทำพินัยกรรม
คดีร้องขอแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
คดีผู้จัดการมรดกเฉพาะส่วน
คดีร้องขอถอดถอนผู้จัดการมรดก
คดีภาษี
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีสอบสวนพิเศษ
ทนายความคดีเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
คดีล้มละลายและคดีฟื้นฟูกิจการ
อสังหาริมทรัพย์
การซื้อที่ดินและทรัพย์สินในประเทศไทย
กรรมสิทธิ์ที่ดินและภาษี
วิธีการที่ บริษัท ไทยสามารถซื้อที่ดิน
การเป็นเจ้าของธุรกิจต่างประเทศ
ผู้ถือหุ้น
สิทธิเก็บกิน
คอนโดมิเนียม
เช่าที่ดิน
วีซ่า
บริการขอวีซ่าและเวิร์คเพอร์มิท
ประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร (Transit Visa)
ประเภทนักท่องเที่ยว (Tourist Visa)
ประเภทคนอยู่ชั่วคราว (Non-Immigrant Visa)
ประเภทฑูต (Diplomatic Visa)
ประเภทราชการ (Offical Visa)
ประเภทอัธยาศัยไมตรี (Courtesy Visa)
ใบอนุญาตทำงานหรือ WORK PERMIT
วีซ่าแต่งงาน
รายละเอียดสำหรับการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นอยู่ในราชอาณาจักร
การยื่นต่ออายุวีซ่า
วีซ่าเกษียณอายุ
บริการแปลเอกสารทุกประเภทและล่ามสื่อสาร 5 ภาษา
บริการรายงานตัวแทน
บริการรายงานตัวแทน
ติดต่อเรา
Menu
หน้าแรก
ทนายความ
งานบริการ
บริการทนายความ
ทนายความคดีกู้ยืมเงิน
ทนายความคดีผิดสัญญา
ทนายคดีซื้อขาย
ทนายความคดีเช่าทรัพท์,เช่าซื้อ
ทนายความคดีค้ำประกัน
ทนายคดีจำนอง,ทนายคดีจำนำ
ทนายคดีประกันภัย
ทนายคดีเช็ค,ทนายคดีตั๋วแลกเงิน,ทนายคดีตั๋วสัญญาใช้เงิน
ทนายความคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน
ทนายคดีบัตรเครดิต
ทนายความคดีที่,กรรมสิทธิ์ที่ดิน,ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
สาระสำคัญของคดีความผิดต่อชีวิต
ทนายคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ทนายความคดีความผิดต่อร่างกาย
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างการผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายและจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้รับอันตรายสาหัส
ทนายคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายคดีความผิดฐานชิงทรัพท์
ทนายคดีความผิดฐานปล้นทรัพท์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพท์
ทนายความคดีฐานฉ้อโกง
บริการติดตามทวงหนี้
บริการด้านจดทะเบียนธุรกิจ
บริการทางการบัญชี-ภาษีอากร
บริการทางด้านบัญชีเพื่อการบริหาร
บริการวางระบบบัญชี
บริการวิเคราะห์งบการเงิน
บริการจดทะเบียนธุรกิจ
การสืบสวน
บทความ
บทความบุตรนอกสมรสกับสิทธิในการรับมรดกของบิดา
บทความสิทธิของผู้ใช้บริการ
บทความการค้ำประกัน
คดีความยาบ้า ยาเสพติด ใส่รูปยาเสพติด
บทความคดีเพ่ง
บทความละเมิดสัญญาและเก็บทรัพย์สินทางปัญญา
บทความทนายความจำเลยในคดีอาญา
บทความใส่ร้ายทนายความ
บทความกฎหมายแรงงานและการจ้างงาน
ส่งผู้ร้ายข้ามแดนคืออะไร?
กรณีตายผิดศีลธรรม
การบอกเลิกสัญญาโดยมิชอบ
คดีความ
คดีแพ่ง
คดีกู้ยืมเงิน
คดีผิดสัญญา
คดีซื้อขาย
คดีเช่าทรัพท์, เช่าซื้อ
คดีค้ำประกัน
คดีจำนอง,จำนำ
คดีประกันภัย
คดีเช็ค,ตั๋วแลกเงิน, ตั๋วสัญญาใช้เงิน
คดีทรัพท์สิน
คดีบัตรเครดิต
คดีที่ดิน, กรรมสิทธิ์ที่ดิน, ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
คดีอาญา
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
คดีความต่อร่างกาย
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้ได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความผิดฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานชิงทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานปล้นทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานฉ้อโกง
ทนายความคดีความผิดฐานยักยอกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานรับของโจร
คดีครอบครัว
คดีฟ้องหย่า
คดีจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
คดีหย่า ที่ต้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดู บุตรหรือคู่สมรส
คดีแบ่งทรัพย์สินระหว่างคู่สมรส
คดีเรียกของหมั้นหรือสินสอดคืน
คดีผิดสัญญาหมั้น
คดีมรดก
คดีจัดการมรดก
คดีจัดทำพินัยกรรม
คดีร้องขอแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
คดีผู้จัดการมรดกเฉพาะส่วน
คดีร้องขอถอดถอนผู้จัดการมรดก
คดีภาษี
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีสอบสวนพิเศษ
ทนายความคดีเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
คดีล้มละลายและคดีฟื้นฟูกิจการ
อสังหาริมทรัพย์
การซื้อที่ดินและทรัพย์สินในประเทศไทย
กรรมสิทธิ์ที่ดินและภาษี
วิธีการที่ บริษัท ไทยสามารถซื้อที่ดิน
การเป็นเจ้าของธุรกิจต่างประเทศ
ผู้ถือหุ้น
สิทธิเก็บกิน
คอนโดมิเนียม
เช่าที่ดิน
วีซ่า
บริการขอวีซ่าและเวิร์คเพอร์มิท
ประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร (Transit Visa)
ประเภทนักท่องเที่ยว (Tourist Visa)
ประเภทคนอยู่ชั่วคราว (Non-Immigrant Visa)
ประเภทฑูต (Diplomatic Visa)
ประเภทราชการ (Offical Visa)
ประเภทอัธยาศัยไมตรี (Courtesy Visa)
ใบอนุญาตทำงานหรือ WORK PERMIT
วีซ่าแต่งงาน
รายละเอียดสำหรับการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นอยู่ในราชอาณาจักร
การยื่นต่ออายุวีซ่า
วีซ่าเกษียณอายุ
บริการแปลเอกสารทุกประเภทและล่ามสื่อสาร 5 ภาษา
บริการรายงานตัวแทน
บริการรายงานตัวแทน
ติดต่อเรา
Attorney of
Civil case
Criminal law case
Family Law case
Heritage case
Criminal Law case
Administrative case
Taxes Law case
บริษัทกฏหมายที่มีความน่าเชื่อถือใน ประเทศไทย
เรทราคาที่ยอมรับได้
ทุกปัญหา
ทางกฏหมาย สามารถติดต่อปรึกษาได้ ฟรี!
เริ่มต้นกับเราวันนี้
Please enable JavaScript in your browser to complete this form.
Phone
Submit
คดีล้มละลายและคดีฟื้นฟูกิจการ
สาระสำคัญของคดีล้มละลายและคดีฟื้นฟูกิจการ
คดีล้มละลายมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องบัญญัติรับรองไว้ คือ
(1) พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483
(2) พระราชบ้ญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542
(3) ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความคดีอาญา (ซึ่งต้องนำมา อนุโลมใช้ในบางกรณี)
ส่วนคดีล้มละลาย
เป็นไปตาม พ.ร.บ.ล้มละลาย พ.ศ.2483 ยกเว้น หมวด 3/1 กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจกิจการ ของลูกหนี้
1. คำนิยามศัพท์ที่สำคัญ (ตามมาตรา 6)
“เจ้าหนี้มีประกัน” หมายความว่า เจ้าหนี้ผู้มีสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ในทางจำนอง จำนำ หรือสิทธิยึด หน่วงหรือเจ้าหนี้ผู้มีบุริมสิทธิที่บังคับได้ทำนองเดียวกับผู้รับจำนำ
“กระบวนพิจารณาคดีล้มละลาย” หมาย ความว่า กระบวนพิจารณาซึ่งบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าจะ กระทำต่อศาลหรือต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตั้งแต่เริ่มคดีจนถึง คดีสิ้นสุด
“พิพากษา” หมายความตลอดถึงการที่ศาลวินิจฉัยชี้ขาดคดีโดยทำเป็นคำสั่ง
“พิทักษ์ทรัพย์” หมายความว่า พิทักษ์ทรัพย์สินไม่ว่าเด็ดขาดหรือชั่วคราว
“มติ” หมาย ความว่า มติของเจ้าหนี้ฝ่ายที่มีจำนวนหนี้ข้างมาก ซึ่งได้เข้าประชุมด้วยตนเองหรือมอบ ฉันทะให้ผู้อื่นเข้าประชุมแทนในที่ประชุม เจ้าหนี้และได้ออกเสียงลงคะแนนในมตินั้น
“มติพิเศษ” หมาย ความว่า มติของเจ้าหนี้ฝ่ายข้างมากและมีจำนวนหนี้เท่ากับสามในสี่แห่งจำนวนหนี้ ทั้ง หมดของเจ้าหนี้ซึ่งได้เข้าประชุมด้วยตนเองหรือมอบฉันทะให้ผู้อื่นเข้าประชุม แทนในที่ประชุมเจ้าหนี้ และ ได้ออกเสียงลงคะแนนในมตินั้น
“บุคคลภายในของลูกหนี้” หมายความว่า
(1) กรรมการ ผู้จัดการ หุ้นส่วนผู้จัดการ หุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิด บุคคลซึ่งรับผิดชอบใน การดำเนินกิจการ หรือผู้สอบบัญชีของลูกหนี้
(2) ผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นเกินจำนวนร้อยละห้าของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกิจการของลูก หนี้
(3) คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของลูกหนี้หรือของบุคคลตาม (1) หรือ (2)
(4) ห้างหุ้นส่วนสามัญที่ลูกหนี้หรือบุคคลตาม (1) หรือ (2) หรือ (3) เป็นหุ้นส่วนอบังคับหรือหลักเกณฑ์ตามที่มีบทบัญญัติกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของ กคพ.
(5) ห้างหุ้นส่วนจำกัดที่ลูกหนี้หรือบุคคลตาม (1) หรือ (2) หรือ (3) เป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความ รับผิด หรือเป็นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับผิดที่มีหุ้นรวมกันเกินร้อยละสามสิบของ หุ้นทั้งหมดของห้างหุ้น ส่วนจำกัด
(6) บริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชนจำกัดที่ลูกหนี้หรือบุคคลตาม (1) หรือ (2) หรือ (3) หรือห้างหุ้นส่วน ตาม (4) หรือ (5) ถือหุ้นรวมกันเกินร้อยละสามสิบของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของ บริษัทนั้น
(7) บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่ลูกหนี้หรือบุคคลตาม (1) ถึง (6) ถือหุ้นรวมกันเกินร้อยละ สามสิบของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของ บริษัทนั้น
(8) กรรมการ ผู้จัดการ หุ้นส่วนผู้จัดการ หุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิด บุคคลซึ่งรับผิดชอบใน การดำเนินกิจการ หรือผู้สอบบัญชีของห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชน จำกัด ตาม (4) หรือ (5) หรือ (6) หรือ (7) แล้วแต่กรณี หรือคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดัง กล่าว
“บุคคลล้มละลายทุจริต” หมาย ความว่า บุคคลล้มละลายที่ถูกศาลพิพากษาว่ามีความผิดตามมาตรา 163 ถึงมาตรา 170 แห่งพระราชบัญญัตินี้ หรือเป็นบุคคลล้มละลายอันเนื่องมาจากหรือเกี่ยวเนื่องกับการกระ ทำความผิดฐาน ยักยอกหรือฉ้อโกงตามประมวลกฎหมายอาญา หรือการกระทำความผิดอันมีลักษณะเป็นการกู้ ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน ตามกฎหมายว่าด้วยการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน 2. ลูกหนี้ ที่มีหนี้สินล้นพ้นตัวอาจถูกศาลพิพากษาให้ล้มละลายได้ ถ้าลูกหนี้นั้นมีภูมิลำเนาในราชอาณาจักร หรือประกอบธุรกิจในราชอาณาจักรไม่ว่าด้วยตนเองหรือโดยตัวแทนในขณะที่มีการขอ ให้ลูกหนี้ล้มละลาย หรือภายในกำหนดเวลาหนึ่งปีก่อนนั้น ตามมาตรา 7
3. ถ้ามีเหตุอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้เกิดขึ้นให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า ลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว(ตามมาตรา 8)
(1) ถ้าลูกหนี้โอนทรัพย์สินหรือสิทธิจัดการทรัพย์สินของตนให้แก่บุคคลอื่นเพื่อประโยชน์แห่งเจ้าหนี้ ทั้งหลายของตน ไม่ว่าได้กระทำการนั้นในหรือนอกราชอาณาจักร
(2) ถ้าลูกหนี้โอนหรือส่งมอบทรัพย์สินของตนไปโดยการแสดงเจตนาลวง หรือโดยการฉ้อฉล ไม่ว่าได้ กระทำการนั้นในหรือนอกราชอาณาจักร
(3) ถ้าลูกหนี้โอนทรัพย์สินของตนหรือก่อให้เกิดทรัพยสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดขึ้นเหนือทรัพย์สินนั้น ซึ่ง ถ้าลูกหนี้ล้มละลายแล้ว จะต้องถือว่าเป็นการให้เปรียบ ไม่ว่าได้กระทำการนั้นในหรือนอกราชอาณาจักร
(4) ถ้าลูกหนี้กระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ เพื่อประวิงการชำระหนี้หรือมิให้เจ้าหนี้ได้รับ ชำระหนี้
ก. ออกไปเสียนอกราชอาณาจักร หรือได้ออกไปก่อนแล้วและคงอยู่นอกราชอาณาจักร
ข. ไปเสียจากเคหะสถานที่เคยอยู่ หรือซ่อนตัวอยู่ในเคหะสถาน หรือหลบไปโดยวิธีอื่น หรือปิดสถานที่ ประกอบธุรกิจ
ค. ยักย้ายทรัพย์ไปให้พ้นอำนาจศาล
ง. ยอมตนให้ต้องคำพิพากษาซึ่งบังคับให้ชำระเงินซึ่งตนไม่ควรต้องชำร
(5) ถ้าลูกหนี้ถูกยึดทรัพย์ตามหมายบังคับคดี หรือไม่มีทรัพย์สินอย่างหนึ่งอย่างใดที่จะพึงยึดมาชำระ หนี้ได้
(6) ถ้าลูกหนี้แถลงต่อศาลในคดีใด ๆ ว่าไม่สามารถชำระหนี้ได้
(7) ถ้าลูกหนี้แจ้งให้เจ้าหนี้คนหนึ่งคนใดของตนทราบว่าไม่สามารถชำระหนี้ได้
(9) ถ้าลูกหนี้ได้รับหนังสือทวงถามจากเจ้าหนี้ให้ชำระหนี้แล้วไม่น้อยกว่าสองครั้งซึ่งมีระยะเวลาห่าง กันไม่น้อยกว่าสามสิบวัน และลูกหนี้ไม่ชำระหนี้
4. เจ้าหนี้จะฟ้องลูกหนี้ให้ล้มละลายได้ก็ต่อเมื่อ (ตามมาตรา 9)
(1) ลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว
(2) ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาเป็นหนี้เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์คนเดียวหรือหลายคนเป็นจำนวนไม่น้อยกว่า หนึ่งล้านบาท หรือลูกหนี้ซึ่งเป็นนิติบุคคลเป็นหนี้เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์คนเดียวหรือหลายคนเป็นจำนวนไม่น้อย กว่าสองล้านบาท และ
(3) หนี้นั้นอาจกำหนดจำนวนได้โดยแน่นอนไม่ว่าหนี้นั้นจะถึงกำหนดชำระโดยพลันหรือในอนาคต ก็ตาม
5. ภายใต้บังคับมาตรา 9 เจ้าหนี้มีประกันจะฟ้องลูกหนี้ให้ล้มละลายได้ก็ต่อเมื่อ (ตามมาตรา 10)
(1) มิได้เป็นผู้ต้องห้ามมิให้บังคับการชำระหนี้เอาแก่ทรัพย์สินของลูกหนี้เกินกว่าตัวทรัพย์ที่เป็นหลักประกัน และ
(2) กล่าวในฟ้องว่า ถ้าลูกหนี้ล้มละลายแล้ว จะยอมสละหลักประกันเพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้ทั้งหลาย หรือตีราคาหลักประกันมาในฟ้องซึ่งเมื่อหักกับจำนวนหนี้ของตนแล้ว เงินยังขาดอยู่สำหรับลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคล ธรรมดาเป็นจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งล้านบาท หรือลูกหนี้ซึ่งเป็นนิติบุคคลเป็นจำนวนไม่น้อยกว่าสองล้านบาท 6. ในการพิจารณาคดีล้มละลายตามคำฟ้องของเจ้าหนี้นั้น ศาลต้องพิจารณาเอาความจริงตามที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 9 หรือมาตรา 10 ถ้าศาลพิจารณาได้ความจริง ให้ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้เด็ดขาด แต่ถ้าไม่ ได้ความจริงหรือลูกหนี้นำสืบได้ว่าอาจชำระหนี้ได้ทั้งหมดหรือมีเหตุอื่นที่ไม่ควรให้ลูกหนี้ล้มละลาย ให้ศาล ยกฟ้อง ตามมาตรา 14
7. เมื่อศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี้ (ตามมาตรา 22)
(1) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลูกหนี้ หรือกระทำการที่จำเป็นเพื่อให้กิจการของลูกหนี้ที่ค้างอยู่เสร็จสิ้นไป
(2) เก็บรวบรวมและรับเงินหรือทรัพย์สินซึ่งจะตกได้แก่ลูกหนี้ หรือซึ่งลูกหนี้มีสิทธิจะได้รับจากผู้อื่น
(3) ประนีประนอมยอมความ หรือฟ้องร้อง หรือต่อสู้คดีใด ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้
8. เมื่อลูกหนี้ได้รับทราบคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ลูกหนี้ต้องส่งมอบทรัพย์สิน ดวงตรา สมุดบัญชี และเอกสารอัน เกี่ยวกับทรัพย์สินและกิจการของตนซึ่งอยู่ในความครอบครองให้แก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทั้งสิ้น ตาม มาตรา 23
9. เมื่อศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว ห้ามมิให้ลูกหนี้กระทำการใด ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สิน หรือกิจการของตน เว้นแต่จะได้กระทำตามคำสั่งหรือความเห็นชอบของศาล เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ผู้จัดการทรัพย์ หรือที่ ประชุมเจ้าหนี้ ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ตามมาตรา 24
10. ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เข้าว่าคดีแพ่งทั้งปวงอันเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้ ซึ่งค้างพิจารณาอยู่ใน ศาลในขณะที่มีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ และเมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำขอโดยทำเป็นคำร้อง ศาลมีอำนาจงด การพิจารณาคดีแพ่งนั้นไว้ หรือจะสั่งประการใดตามที่เห็นสมควรก็ได้ ตามมาตรา 25
11. เมื่อศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้เด็ดขาดแล้ว เจ้าหนี้จะขอรับชำระหนี้ได้ก็แต่โดยปฏิบัติตามวิธีการที่ กล่าวไว้ในพระราชบัญญัตินี้ แม้จะเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา หรือเป็นเจ้าหนี้ที่ได้ฟ้องคดีแพ่งไว้แล้ว แต่คดียัง อยู่ระหว่างพิจารณาก็ตาม ตามมาตรา 27
12. เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์โฆษณาคำสั่งนั้นในราชกิจจานุเบกษาและใน หนังสือพิมพ์รายวันไม่น้อยกว่าหนึ่งฉบับ ในคำโฆษณานั้นให้แสดงการขอให้ล้มละลาย วันที่ศาลมีคำสั่ง ชื่อ ตำบลที่อยู่ และอาชีพของลูกหนี้ ตามมาตรา 28 วรรคหนึ่ง ในคำโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดนั้น ให้แจ้งกำหนดเวลาให้เจ้าหนี้ทั้งหลายเสนอคำขอรับชำระหนี้ต่อ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ด้วย ตามมาตรา 28 วรรคสอง
13. ถ้าไม่ได้ตั้งกรรมการเจ้าหนี้ไว้ การกระทำใด ๆ ที่พระราชบัญญัตินี้กำหนดไว้ว่า ต้องได้รับความเห็นชอบ จากกรรมการเจ้าหนี้ก่อนนั้น ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ขอความเห็นชอบจากที่ประชุมเจ้าหนี้ ตามมาตรา 41
14. เมื่อลูกหนี้ประสงค์จะทำความตกลงในเรื่องหนี้สินโดยวิธีขอชำระหนี้แต่เพียงบางส่วนหรือโดยวิธีอื่น ให้ทำ คำขอประนอมหนี้เป็นหนังสือยื่นต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนดเจ็ดวัน นับแต่วันยื่นคำชี้แจงเกี่ยว กับกิจการและทรัพย์สินตามมาตรา 30 หรือภายในเวลาตามที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้กำหนดให้ ตาม มาตรา 45 วรรคหนึ่ง
คำขอประนอมหนี้ต้องแสดงข้อความแห่งการประนอมหนี้ หรือวิธีจัดกิจการ หรือทรัพย์สินและรายละเอียดแห่ง หลักประกัน หรือผู้ค้ำประกัน ถ้ามี ตามมาตรา 45 วรรคสอง ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เรียกประชุมเจ้าหนี้เพื่อปรึกษาลงมติพิเศษว่าจะยอมรับคำขอนั้นหรือไม่ ตามมาตรา 45 วรรคท้าย
15. ในการที่ศาลจะมีคำสั่งเห็นชอบด้วยการประนอมหนี้หรือไม่นั้น ให้ศาลพิจารณารายงานของเจ้าพนักงาน พิทักษ์ทรัพย์และข้อคัดค้านของเจ้าหนี้ ถ้ามี ตามมาตรา 52 วรรคหนึ่ง
เจ้าหนี้ที่ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้แล้วมีอำนาจคัดค้านต่อศาลได้ ถึงแม้จะได้เคยออกเสียงลงมติยอมรับไว้ในที่ ประชุมเจ้าหนี้ก็ตาม ตามมาตรา 52 วรรคสอง
16. การประนอมหนี้ซึ่งที่ประชุมเจ้าหนี้ได้ยอมรับและศาลเห็นชอบด้วยแล้ว ผูกมัดเจ้าหนี้ทั้งหมดในเรื่องหนี้ซึ่ง อาจขอรับชำระได้ แต่ไม่ผูกมัดเจ้าหนี้คนหนึ่งคนใดในเรื่องหนี้ซึ่งตามพระราชบัญญัตินี้ลูกหนี้ไม่อาจหลุดพ้น โดยคำสั่งปลดจากล้มละลายได้ เว้นแต่เจ้าหนี้คนนั้นได้ยินยอมด้วยในการประนอมหนี้ ตามมาตรา 56
17. เจ้าหนี้คนหนึ่งคนใดหรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ มีอำนาจขอต่อศาลให้บังคับลูกหนี้หรือผู้ค้ำประกันให้ ปฏิบัติตามข้อความที่ประนอมหนี้ได้ ตามมาตรา 57
18. การประนอมหนี้ไม่ทำให้บุคคลซึ่งเป็นหุ้นส่วนกับลูกหนี้หรือรับผิดร่วมกับลูกหนี้ หรือค้ำประกันหรืออยู่ใน ลักษณะอย่างผู้ค้ำประกันของลูกหนี้ หลุดพ้นจากความรับผิดไปด้วย ตามมาตรา 59
19. ถ้าลูกหนี้ผิดนัดไม่ชำระหนี้ตามที่ได้ตกลงไว้ในการประนอมหนี้ก็ดี หรือปรากฏแก่ศาลโดยมีพยานหลักฐาน ว่า การประนอมหนี้นั้นไม่อาจดำเนินไปได้โดยปราศจาก อยุติธรรมหรือจะเป็นการเนิ่นช้าเกินสมควรก็ดี หรือ การที่ศาลได้มีคำสั่งเห็นชอบด้วยนั้นเป็นเพราะถูกหลอกลวงทุจริตก็ดี เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์รายงานหรือ เจ้าหนี้คนใดมีคำขอโดยทำเป็นคำร้อง ศาลมีอำนาจยกเลิกการประนอมหนี้และพิพากษาให้ลูกหนี้ล้มละลาย แต่ ทั้งนี้ไม่กระทบถึงการใดที่ได้กระทำไปแล้วตามข้อประนอมหนี้นั้น ตามมาตรา 60 วรรคหนึ่ง เมื่อ ศาลได้พิพากษาดังกล่าวในวรรคก่อนแล้ว ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์โฆษณาคำพิพากษาในราชกิจจานุ เบกษาและในหนังสือ พิมพ์รายวันไม่น้อยกว่าหนึ่งฉบับ ในคำโฆษณาให้ระบุชื่อ ตำบลที่อยู่ อาชีพของลูกหนี้ และวันที่ศาลได้มีคำพิพากษา ทั้งให้แจ้งกำหนดเวลาให้เจ้าหนี้ทั้งหลายเสนอคำขอรับชำระหนี้ที่ลูกหนี้ได้ กระทำขึ้นในระหว่างวันที่ศาลได้มีคำสั่งเห็นชอบด้วยการประนอมหนี้ถึงวันที่ ศาลพิพากษาให้ลูกหนี้ล้มละลาย ต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ด้วย ตามมาตรา 60 วรรคสอง
20. เมื่อศาลได้มีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้เด็ดขาดแล้ว และเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์รายงานว่า เจ้าหนี้ได้ ลงมติในการประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรกหรือในคราวที่ได้เลื่อนไป ขอให้ศาลพิพากษาให้ลูกหนี้ล้มละลายก็ดี หรือไม่ ลงมติประการใดก็ดี หรือไม่มีเจ้าหนี้ไปประชุมก็ดี หรือการประนอมหนี้ไม่ได้รับความเห็นชอบก็ดี ให้ศาล พิพากษาให้ลูกหนี้ล้มละลาย และเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจจัดการทรัพย์สินของบุคคลล้มละลายเพื่อ แบ่งแก่เจ้าหนี้ทั้งหลาย ตามมาตรา 61 วรรคหนึ่ง
ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์โฆษณาคำพิพากษาในราชกิจจานุเบกษาและในหนังสือพิมพ์รายวันไม่น้อยกว่า หนึ่งฉบับ ในคำโฆษณาให้ระบุชื่อ ตำบลที่อยู่ อาชีพของลูกหนี้และวันที่ศาลได้มีคำพิพากษาตามมาตรา 61 วรรคสอง
21. การล้มละลายของลูกหนี้เริ่มต้นมีผลตั้งแต่วันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ ตามมาตรา 62
22. คำสั่งปลดจากล้มละลายทำให้บุคคลล้มละลายหลุดพ้นจากหนี้ทั้งปวงอันพึงขอรับชำระได้ เว้นแต่ (ตามมาตรา 77)
(1) หนี้เกี่ยวกับภาษีอากร หรือจังกอบของรัฐบาลหรือเทศบาล
(2) หนี้ซึ่งได้เกิดขึ้นโดยความทุจริตฉ้อโกงของบุคคลล้มละลาย หรือหนี้ซึ่งเจ้าหนี้ไม่ได้เรียกร้อง เนื่องจากความทุจริตฉ้อโกงซึ่งบุคคลล้มละลายมีส่วนเกี่ยวข้องสมรู้
23. การที่ศาลได้มีคำสั่งปลดจากล้มละลายนั้นไม่ทำให้บุคคลซึ่งเป็นหุ้นส่วนกับบุคคลล้มละลาย หรือรับผิดร่วม กับบุคคลล้มละลาย หรือค้ำประกัน หรืออยู่ในลักษณะอย่างผู้ค้ำประกันของบุคคลล้มละลายหลุดพ้นจากความ รับผิดไปด้วย ตามมาตรา 78
24. ภายใต้บังคับมาตรา 81/2 บุคคลธรรมดาซึ่งศาลพิพากษาให้ล้มละลายแล้ว ให้ปลดบุคคลนั้นจากล้มละลาย ทันทีที่พ้นกำหนดระยะเวลา 3 ปีนับแต่วันที่ศาลได้พิพากษาให้ล้มละลาย เว้นแต่ (ตามมาตรา 81/1)
(1) บุคคลนั้นได้เคยถูกพิพากษาให้ล้มละลายมาก่อนแล้ว และยังไม่พ้นระยะเวลาห้าปีนับแต่วันที่ศาลได้ พิพากษาให้ล้มละลายครั้งก่อนจน ถึงวันที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ครั้งหลังให้ขยายระยะเวลาเป็นห้าปี
(2) บุคคลนั้นเป็นบุคคลล้มละลายทุจริตที่ไม่มีลักษณะตาม (๓) ให้ขยายระยะเวลาเป็นสิบปี เว้นแต่ในกรณีที่มี เหตุผลพิเศษและบุคคลนั้นถูกศาลพิพากษาให้ล้มละลายมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี ศาลจะสั่งปลดจากล้มละลาย ก่อนครบกำหนดสิบปีตามคำขอของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรือของบุคคลล้มละลายนั้นก็ได้
(3) บุคคลนั้นเป็นบุคคลล้มละลายอันเนื่องมาจากหรือเกี่ยวเนื่องกับการกระทำความ ผิดอันมีลักษณะเป็นการกู้ ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนตามกฎหมายว่าด้วย การกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน ให้ขยายระยะ เวลาเป็นสิบปี
ในกรณีที่มีเหตุตาม (1) (2) หรือ (3) มากกว่าหนึ่งเหตุให้ขยายระยะเวลาโดยอาศัยเหตุใดเหตุหนึ่งที่มีระยะเวลา สูงสุดเพียงเหตุเดียว ตามมาตรา 81/1 วรรคสอง
ให้นำบทบัญญัติมาตรา 76 มาตรา 77 และมาตรา 78 มาใช้บังคับกับการปลดจากล้มละลายตามมาตรา นี้โดยอนุโลม ตามมาตรา 81/1 วรรคท้าย
24. ก่อนระยะเวลา 3 ปี ตามมาตรา ๘๑/๑ วรรคหนึ่ง จะสิ้นสุดลง เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์อาจยื่นคำขอต่อศาล เพื่อขอให้ศาลมีคำสั่งให้หยุดนับ ระยะเวลาดังกล่าวไว้ก่อนก็ได้ ตามมาตรา 82/2 วรรคหนึ่ง เมื่อ ศาลได้รับคำขอเช่นว่านี้แล้ว ให้ศาลกำหนดนัดไต่สวนเป็นการด่วน และส่งสำเนาคำขอให้แก่บุคคลล้ม ละลายทราบก่อนวันนัดไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน ตามมาตรา 82/2 วรรคสอง
25. เมื่อศาลได้มีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ห้างหุ้นส่วนสามัญซึ่งได้จดทะเบียน หรือห้างหุ้นส่วนจำกัดแล้ว เจ้าหนี้ผู้เป็น โจทก์หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์อาจมีคำขอโดยทำเป็นคำร้อง ให้บุคคลซึ่งนำสืบได้ว่าเป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่ จำกัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วน นั้นล้มละลายได้ โดยไม่ต้องฟ้องเป็นคดีขึ้นใหม่ ตามมาตรา 89 26. เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลายจะเป็นเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์หรือไม่ก็ตาม ต้องยื่นคำขอต่อเจ้า พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนดเวลาสองเดือนนับแต่วันโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด แต่ถ้าเจ้าหนี้ อยู่นอกราชอาณาจักร เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะขยายกำหนดเวลาให้อีกได้ไม่เกินสองเดือน ตามมาตรา 91วรรคหนึ่ง
26. เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลายจะเป็นเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์หรือไม่ก็ตาม ต้องยื่นคำขอต่อเจ้า พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนดเวลาสองเดือนนับแต่วันโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด แต่ถ้าเจ้าหนี้ อยู่นอกราชอาณาจักร เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะขยายกำหนดเวลาให้อีกได้ไม่เกินสองเดือน ตามมาตรา 91วรรคหนึ่ง
คำขอรับ ชำระหนี้นั้นต้องทำตามแบบพิมพ์ โดยมีบัญชีแสดงรายละเอียดแห่งหนี้สิน และข้อความระบุถึงหลัก ฐานประกอบหนี้และทรัพย์สินอย่างหนึ่งอย่างใดของ ลูกหนี้ที่ยึดไว้เป็นหลักประกันหรือตกอยู่ในความครอบ ครองของเจ้าหนี้ ตามมาตรา 91 วรรคสอง
27. เจ้าหนี้ไม่มีประกันอาจขอรับชำระหนี้ได้ ถ้ามูลแห่งหนี้ได้เกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ แม้ว่า หนี้นั้นยังไม่ถึงกำหนดชำระหรือมีเงื่อนไขก็ตาม เว้นแต่ (ตามมาตรา 94)
(1) หนี้ที่เกิดขึ้นโดยฝ่าฝืนข้อห้ามตามกฎหมาย หรือศีลธรรมอันดี หรือหนี้ที่จะฟ้องร้องให้บังคับคดีไม่ได้
(2) หนี้ที่เจ้าหนี้ยอมให้ลูกหนี้กระทำขึ้นเมื่อเจ้าหนี้ได้รู้ถึงการที่ลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว แต่ไม่รวมถึงหนี้ที่เจ้า หนี้ยอมให้กระทำขึ้นเพื่อให้กิจการของลูกหนี้ดำเนินต่อไปได้
28. เจ้าหนี้มีประกันย่อมมีสิทธิเหนือทรัพย์สินอันเป็นหลักประกันซึ่งลูกหนี้ได้ให้ไว้ก่อนถูกพิทักษ์ทรัพย์โดยไม่ ต้องขอรับชำระหนี้ แต่ต้องยอมให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตรวจดูทรัพย์สินนั้น ตามมาตรา 95
29. เจ้าหนี้มีประกันอาจขอรับชำระหนี้ได้ภายในเงื่อนไขดังต่อไปนี้(ตามมาตรา 96 วรรคหนึ่ง)
(1) เมื่อยินยอมสละทรัพย์สินอันเป็นหลักประกันเพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้ทั้งหลายแล้ว ขอรับชำระหนี้ได้เต็ม จำนวน
(2) เมื่อได้บังคับเอาแก่ทรัพย์สินอันเป็นหลักประกันแล้ว ขอรับชำระหนี้สำหรับจำนวนที่ยังขาดอยู่
(3) เมื่อได้ขอให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ขายทอดตลาดทรัพย์สินอันเป็นหลักประกันแล้ว ขอรับชำระหนี้ สำหรับจำนวนที่ยังขาดอยู่
(4) เมื่อตีราคาทรัพย์สินอันเป็นหลักประกันแล้ว ขอรับชำระหนี้สำหรับจำนวนที่ยังขาดอยู่ ในกรณีเช่นนี้เจ้า พนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจไถ่ถอนทรัพย์สินตามราคานั้นได้ ถ้าเห็นว่าราคานั้นไม่สมควร เจ้าพนักงาน พิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจขายทรัพย์สินนั้นตามวิธีการที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์และเจ้าหนี้ตกลงกัน ถ้าไม่ตกลง กัน จะขายทอดตลาดก็ได้ แต่ต้องไม่ให้เสียหายแก่เจ้าหนี้นั้น และเจ้าหนี้หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจ เข้าสู้ราคาในการขายทอดตลาดได้ เมื่อขายได้เงินเป็นจำนวนสุทธิเท่าใด ให้ถือว่าเป็นราคาที่เจ้าหนี้ได้ตีมาใน คำขอ
ถ้าเจ้า พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่แจ้งโดยหนังสือให้เจ้าหนี้ทราบว่าจะใช้สิทธิไถ่ถอน หรือตกลงให้ขายทรัพย์สิน อันเป็นหลักประกันภายในกำหนดเวลาสี่เดือนนับแต่วัน ที่เจ้าหนี้ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้ ให้ถือว่ายินยอมให้ ทรัพย์สินนั้นเป็นกรรมสิทธิ์แก่เจ้าหนี้ตามราคาที่เจ้า หนี้ได้ตีมา และเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หมดสิทธิไถ่ถอน หรือขายทรัพย์สินนั้น ตามมาตรา 96 วรรคสอง
บทบัญญัติแห่งมาตรานี้ไม่ให้ใช้บังคับในกรณีที่ตามกฎหมายลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดเกินกว่าราคาทรัพย์สินที่เป็น หลักประกัน ตามมาตรา 96 วรรคท้าย
30. ถ้าลูกหนี้ร่วมบางคนถูกพิทักษ์ทรัพย์ ลูกหนี้ร่วมคนอื่นอาจยื่นคำขอรับชำระหนี้สำหรับจำนวนที่ตนอาจใช้ สิทธิไล่เบี้ยในเวลาภายหน้าได้ เว้นแต่เจ้าหนี้ได้ใช้สิทธิขอรับชำระหนี้ไว้เต็มจำนวนแล้ว ตามมาตรา 101 วรรค หนึ่ง
บทบัญญัติในวรรคก่อนให้ใช้บังคับแก่ผู้ค้ำประกัน ผู้ค้ำประกันร่วม หรือบุคคลที่อยู่ในลักษณะเดียวกันนี้โดย อนุโลม ตามมาตรา 101 วรรคสอง
31. ถ้าเจ้าหนี้ซึ่งมีสิทธิขอรับชำระหนี้เป็นหนี้ลูกหนี้ในเวลาที่มีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ ถึงแม้ว่ามูลแห่งหนี้ทั้งสอง ฝ่ายจะไม่มีวัตถุเป็นอย่างเดียวกันก็ดี หรืออยู่ในเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาก็ดี ก็อาจหักกลบลบกันได้ เว้นแต่ เจ้าหนี้ ได้สิทธิเรียกร้องต่อลูกหนี้ภายหลังที่มีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ตามมาตรา 102
32. คำขอรับชำระหนี้ของเจ้าหนี้ซึ่งศาลได้สั่งอนุญาตแล้วนั้น ถ้าต่อมาปรากฏว่าศาลได้สั่งไปโดยผิดหลง เมื่อ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำขอโดยทำเป็นคำร้อง ศาลมีอำนาจยกคำขอรับชำระหนี้หรือลดจำนวนหนี้ที่ได้สั่ง อนุญาตไปแล้วได้ ตามมาตรา 108
33. ทรัพย์สินดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นทรัพย์สินในคดีล้มละลายอันอาจแบ่งแก่เจ้าหนี้ได้ (ตามมาตรา 109)
(1) ทรัพย์สินทั้งหลายอันลูกหนี้มีอยู่ในเวลาเริ่มต้นแห่งการล้มละลาย รวมทั้งสิทธิเรียกร้องเหนือทรัพย์สินของ บุคคลอื่น เว้นแต่
ก. เครื่องใช้สอยส่วนตัวอันจำเป็นแก่การดำรงชีพ ซึ่งลูกหนี้รวมทั้งคู่สมรสและบุตรผู้เยาว์ของลูกหนี้ จำเป็น ต้องใช้ตามสมควรแก่ฐานานุรูป และ
ข. สัตว์ พืชพันธุ์ เครื่องมือและสิ่งของสำหรับใช้ในการประกอบอาชีพของลูกหนี้ราคารวมกันไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(2) ทรัพย์สินซึ่งลูกหนี้ได้มาภายหลังเวลาเริ่มต้นแห่งการล้มละลายจนถึงเวลาปลดจากล้มละลาย
(3) สิ่งของซึ่งอยู่ในครอบครองหรืออำนาจสั่งการหรือสั่งจำหน่ายของลูกหนี้ ในทางการค้าหรือธุรกิจของลูกหนี้ ด้วยความยินยอมของเจ้าของอันแท้จริง โดยพฤติการณ์ซึ่งทำให้เห็นว่าลูกหนี้เป็นเจ้าของในขณะที่มีการขอให้ ลูกหนี้นั้นล้มละลาย
34. คำสั่งของศาลที่ให้ยึดหรืออายัดทรัพย์สินของลูกหนี้ไว้ชั่วคราว หรือหมายบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของลูกหนี้ นั้น จะใช้ยันแก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้ไม่ได้ เว้นแต่การบังคับคดีนั้นได้สำเร็จบริบูรณ์แล้วก่อนวัน ที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ ตามมาตรา 110 วรรคหนึ่ง
การบังคับคดีนั้น ให้ถือว่าได้สำเร็จบริบูรณ์เมื่อพ้นกำหนดเวลาที่อนุญาตให้เจ้าหนี้อื่นยื่นคำขอเฉลี่ยตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ตามมาตรา 110 วรรคสอง
หน้าที่ของทนายความคดีล้มละลายและคดีฟื้นฟูกิจการ
1. เตรียมคดี ตรวจสอบและค้นหาข้อเท็จจริงจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องให้รอบด้านมากที่สุด
2. รวบรวมและตรวจสอบความเรียบร้อยของเอกสาร เพราะมูลหนี้บางกรณีที่เจ้าหนี้นำมาฟ้องลูกหนี้ อาจเป็น กรณีที่มีเอกสารจำนวนมากเนื่องจากมีเจ้าหนี้หลายราย, มูลหนี้หลายรายการ หรือกรณีที่กฎหมายต้องการ เอกสารมาแสดงในการสืบพยานในชั้นศาล ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เช่น หนี้กู้ยืมเงินเกิน กว่า 2,000 บาทขึ้นไป หรือหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ เป็นต้น
3. ตรวจค้นข้อกฎหมาย และคำพิพากษาศาลของศาลฎีกาที่เกี่ยวข้อง รวมถึงอายุความหรือระยะเวลาในการ ดำเนินคดีของลูกความด้วย
4. ตรวจสอบสิทธิหน้าที่ของเจ้าหนี้และลูกหนี้ทั้งหมดที่มีตามกฎหมาย
5. คำนวณและคำนวณยอดหนี้พร้อมดอกเบี้ยทั้งหมด
6. ติดตามผลคดีของลูกความอย่างต่อเนื่อง ทั้งในชั้นศาล ชั้นประนอมหนี้ และชั้นการดำเนินการของเจ้าพนัก งานพิทักทรัพย์จนกว่าจะเสร็จสิ้นคดีล้มละลาย เพื่อรักษาประโยชน์ของลูกความ
7. ให้คำปรึกษาและข้อมูลต่างๆ แก่ลูกความอย่างถูกต้องครบถ้วน เพื่อให้ลูกความนำไปใช้ในการตัดสินใจต่อ ไป
บริษัท รัชดา ลอว์ จำกัด บริการด้านกฎหมายครบวงจร บริการด้านกฎหมาย ด้วยหัวใจนักกฎหมายมือ อาชีพ” มีปัญหาเรื่องคดีล้มละลายและคดีฟื้นฟูกิจการโทรหาเราที่เบอร์