+66 25 121 941
+66 25 121 941
+66 92 854 8800
ratchadalawfirm32@gmail.com
Facebook
Ratchada Law Firm
หน้าแรก
ทนายความ
งานบริการ
บริการทนายความ
ทนายความคดีกู้ยืมเงิน
ทนายความคดีผิดสัญญา
ทนายคดีซื้อขาย
ทนายความคดีเช่าทรัพท์,เช่าซื้อ
ทนายความคดีค้ำประกัน
ทนายคดีจำนอง,ทนายคดีจำนำ
ทนายคดีประกันภัย
ทนายคดีเช็ค,ทนายคดีตั๋วแลกเงิน,ทนายคดีตั๋วสัญญาใช้เงิน
ทนายความคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน
ทนายคดีบัตรเครดิต
ทนายความคดีที่,กรรมสิทธิ์ที่ดิน,ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
สาระสำคัญของคดีความผิดต่อชีวิต
ทนายคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ทนายความคดีความผิดต่อร่างกาย
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างการผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายและจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้รับอันตรายสาหัส
ทนายคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายคดีความผิดฐานชิงทรัพท์
ทนายคดีความผิดฐานปล้นทรัพท์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพท์
ทนายความคดีฐานฉ้อโกง
บริการติดตามทวงหนี้
บริการด้านจดทะเบียนธุรกิจ
บริการทางการบัญชี-ภาษีอากร
บริการทางด้านบัญชีเพื่อการบริหาร
บริการวางระบบบัญชี
บริการวิเคราะห์งบการเงิน
บริการจดทะเบียนธุรกิจ
การสืบสวน
บทความ
บทความบุตรนอกสมรสกับสิทธิในการรับมรดกของบิดา
บทความสิทธิของผู้ใช้บริการ
บทความการค้ำประกัน
คดีความยาบ้า ยาเสพติด ใส่รูปยาเสพติด
บทความคดีเพ่ง
บทความละเมิดสัญญาและเก็บทรัพย์สินทางปัญญา
บทความทนายความจำเลยในคดีอาญา
บทความใส่ร้ายทนายความ
บทความกฎหมายแรงงานและการจ้างงาน
ส่งผู้ร้ายข้ามแดนคืออะไร?
กรณีตายผิดศีลธรรม
การบอกเลิกสัญญาโดยมิชอบ
คดีความ
คดีแพ่ง
คดีกู้ยืมเงิน
คดีผิดสัญญา
คดีซื้อขาย
คดีเช่าทรัพท์, เช่าซื้อ
คดีค้ำประกัน
คดีจำนอง,จำนำ
คดีประกันภัย
คดีเช็ค,ตั๋วแลกเงิน, ตั๋วสัญญาใช้เงิน
คดีทรัพท์สิน
คดีบัตรเครดิต
คดีที่ดิน, กรรมสิทธิ์ที่ดิน, ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
คดีอาญา
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
คดีความต่อร่างกาย
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้ได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความผิดฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานชิงทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานปล้นทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานฉ้อโกง
ทนายความคดีความผิดฐานยักยอกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานรับของโจร
คดีครอบครัว
คดีฟ้องหย่า
คดีจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
คดีหย่า ที่ต้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดู บุตรหรือคู่สมรส
คดีแบ่งทรัพย์สินระหว่างคู่สมรส
คดีเรียกของหมั้นหรือสินสอดคืน
คดีผิดสัญญาหมั้น
คดีมรดก
คดีจัดการมรดก
คดีจัดทำพินัยกรรม
คดีร้องขอแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
คดีผู้จัดการมรดกเฉพาะส่วน
คดีร้องขอถอดถอนผู้จัดการมรดก
คดีภาษี
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีสอบสวนพิเศษ
ทนายความคดีเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
คดีล้มละลายและคดีฟื้นฟูกิจการ
อสังหาริมทรัพย์
การซื้อที่ดินและทรัพย์สินในประเทศไทย
กรรมสิทธิ์ที่ดินและภาษี
วิธีการที่ บริษัท ไทยสามารถซื้อที่ดิน
การเป็นเจ้าของธุรกิจต่างประเทศ
ผู้ถือหุ้น
สิทธิเก็บกิน
คอนโดมิเนียม
เช่าที่ดิน
วีซ่า
บริการขอวีซ่าและเวิร์คเพอร์มิท
ประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร (Transit Visa)
ประเภทนักท่องเที่ยว (Tourist Visa)
ประเภทคนอยู่ชั่วคราว (Non-Immigrant Visa)
ประเภทฑูต (Diplomatic Visa)
ประเภทราชการ (Offical Visa)
ประเภทอัธยาศัยไมตรี (Courtesy Visa)
ใบอนุญาตทำงานหรือ WORK PERMIT
วีซ่าแต่งงาน
รายละเอียดสำหรับการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นอยู่ในราชอาณาจักร
การยื่นต่ออายุวีซ่า
วีซ่าเกษียณอายุ
บริการแปลเอกสารทุกประเภทและล่ามสื่อสาร 5 ภาษา
บริการรายงานตัวแทน
บริการรายงานตัวแทน
ติดต่อเรา
Menu
หน้าแรก
ทนายความ
งานบริการ
บริการทนายความ
ทนายความคดีกู้ยืมเงิน
ทนายความคดีผิดสัญญา
ทนายคดีซื้อขาย
ทนายความคดีเช่าทรัพท์,เช่าซื้อ
ทนายความคดีค้ำประกัน
ทนายคดีจำนอง,ทนายคดีจำนำ
ทนายคดีประกันภัย
ทนายคดีเช็ค,ทนายคดีตั๋วแลกเงิน,ทนายคดีตั๋วสัญญาใช้เงิน
ทนายความคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน
ทนายคดีบัตรเครดิต
ทนายความคดีที่,กรรมสิทธิ์ที่ดิน,ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
สาระสำคัญของคดีความผิดต่อชีวิต
ทนายคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ทนายความคดีความผิดต่อร่างกาย
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างการผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายและจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้รับอันตรายสาหัส
ทนายคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายคดีความผิดฐานชิงทรัพท์
ทนายคดีความผิดฐานปล้นทรัพท์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพท์
ทนายความคดีฐานฉ้อโกง
บริการติดตามทวงหนี้
บริการด้านจดทะเบียนธุรกิจ
บริการทางการบัญชี-ภาษีอากร
บริการทางด้านบัญชีเพื่อการบริหาร
บริการวางระบบบัญชี
บริการวิเคราะห์งบการเงิน
บริการจดทะเบียนธุรกิจ
การสืบสวน
บทความ
บทความบุตรนอกสมรสกับสิทธิในการรับมรดกของบิดา
บทความสิทธิของผู้ใช้บริการ
บทความการค้ำประกัน
คดีความยาบ้า ยาเสพติด ใส่รูปยาเสพติด
บทความคดีเพ่ง
บทความละเมิดสัญญาและเก็บทรัพย์สินทางปัญญา
บทความทนายความจำเลยในคดีอาญา
บทความใส่ร้ายทนายความ
บทความกฎหมายแรงงานและการจ้างงาน
ส่งผู้ร้ายข้ามแดนคืออะไร?
กรณีตายผิดศีลธรรม
การบอกเลิกสัญญาโดยมิชอบ
คดีความ
คดีแพ่ง
คดีกู้ยืมเงิน
คดีผิดสัญญา
คดีซื้อขาย
คดีเช่าทรัพท์, เช่าซื้อ
คดีค้ำประกัน
คดีจำนอง,จำนำ
คดีประกันภัย
คดีเช็ค,ตั๋วแลกเงิน, ตั๋วสัญญาใช้เงิน
คดีทรัพท์สิน
คดีบัตรเครดิต
คดีที่ดิน, กรรมสิทธิ์ที่ดิน, ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
คดีอาญา
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
คดีความต่อร่างกาย
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้ได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความผิดฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานชิงทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานปล้นทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานฉ้อโกง
ทนายความคดีความผิดฐานยักยอกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานรับของโจร
คดีครอบครัว
คดีฟ้องหย่า
คดีจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
คดีหย่า ที่ต้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดู บุตรหรือคู่สมรส
คดีแบ่งทรัพย์สินระหว่างคู่สมรส
คดีเรียกของหมั้นหรือสินสอดคืน
คดีผิดสัญญาหมั้น
คดีมรดก
คดีจัดการมรดก
คดีจัดทำพินัยกรรม
คดีร้องขอแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
คดีผู้จัดการมรดกเฉพาะส่วน
คดีร้องขอถอดถอนผู้จัดการมรดก
คดีภาษี
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีสอบสวนพิเศษ
ทนายความคดีเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
คดีล้มละลายและคดีฟื้นฟูกิจการ
อสังหาริมทรัพย์
การซื้อที่ดินและทรัพย์สินในประเทศไทย
กรรมสิทธิ์ที่ดินและภาษี
วิธีการที่ บริษัท ไทยสามารถซื้อที่ดิน
การเป็นเจ้าของธุรกิจต่างประเทศ
ผู้ถือหุ้น
สิทธิเก็บกิน
คอนโดมิเนียม
เช่าที่ดิน
วีซ่า
บริการขอวีซ่าและเวิร์คเพอร์มิท
ประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร (Transit Visa)
ประเภทนักท่องเที่ยว (Tourist Visa)
ประเภทคนอยู่ชั่วคราว (Non-Immigrant Visa)
ประเภทฑูต (Diplomatic Visa)
ประเภทราชการ (Offical Visa)
ประเภทอัธยาศัยไมตรี (Courtesy Visa)
ใบอนุญาตทำงานหรือ WORK PERMIT
วีซ่าแต่งงาน
รายละเอียดสำหรับการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นอยู่ในราชอาณาจักร
การยื่นต่ออายุวีซ่า
วีซ่าเกษียณอายุ
บริการแปลเอกสารทุกประเภทและล่ามสื่อสาร 5 ภาษา
บริการรายงานตัวแทน
บริการรายงานตัวแทน
ติดต่อเรา
Attorney of
Civil case
Criminal law case
Family Law case
Heritage case
Criminal Law case
Administrative case
Taxes Law case
บริษัทกฏหมายที่มีความน่าเชื่อถือใน ประเทศไทย
เรทราคาที่ยอมรับได้
ทุกปัญหา
ทางกฏหมาย สามารถติดต่อปรึกษาได้ ฟรี!
เริ่มต้นกับเราวันนี้
Please enable JavaScript in your browser to complete this form.
Phone
Submit
คดีจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
สาระสำคัญในการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
1. การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมมีกฎหมายรับรองอยู่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิขย์ บรรพ 5 ว่าด้วย เรื่องครอบครัว ลักษณะ 2 บิดามารดาและบุตร หมวด 4 บุตรบุญธรรม และ พ.ร.บ.จดทะเบียนครอบครัว พ.ศ.2478
2. บุคคลที่จะเป็นผู้รับบุตรบุญธรรมได้ต้องอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ และผู้นั้นจะต้องมีอายุมากกว่าผู้จะเป็น บุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1598/19
3. การรับบุตรบุญธรรม ถ้าผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรมมีอายุไม่ต่อกว่าสิบห้าปีบริบูรณ์ ผู้นั้นต้องให้ความยินยอม ด้วย ตามมาตรา 1598/20
4. การรับผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมจะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับความยินของบิดาและมารดาของผู้จะเป็นบุตร บุญธรรมก่อน ในกรณีที่บิดามารดาคนใดคนหนึ่งตายหรือถูกถอนอำนาจปกครองต้องได้รับความยินยอมของ มารดาหรือบิดาซึ่งยังมีอำนาจปกครอง ตามมาตรา 1598/21 วรรคหนึ่ง
ถ้าไม่มีผู้มีอำนาจให้ความยินยอมดังกล่าวหรือมีแต่บิดาหรือมารดาคนใดคนหนึ่งหรือทั้งสองคนไม่สามารถ แสดงเจตนาให้ความยินยอมได้หรือไม่ได้หรือไม่ให้ความยินยอมและการไม่ให้ความยินยอมนั้นปราศจาก เหตุผลอันสมควรและเป็นปฏิปักษ์ต่อสุขภาพความเจริญหรือสวัสดิภาพของผู้เยาว์ มารดาหรือบิดาหรือผู้ ประสงค์จะขอรับบุตรบุญธรรมหรืออัยการจะร้องขอต่อศาลให้มีคำสั่งอนุญาตแทนการให้ความยินยอมตาม วรรคหนึ่งก็ได้
5. ในการรับผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมถ้าผู้เยาว์เป็นผู้ถูกทอดทิ้งและอยู่ในความดูแลของสถานสงเคราะห์เด็กตาม กฎหมายว่าด้วยการสงเคราะห์และคุ้มครองเด็ก ให้สถานสงเคราะห์เด็กเป็นผู้ให้ความยินยอม ให้นำความใน มาตรา 1598/21 วรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม ตามมาตรา 1598/22
6. ในการณีที่ผู้เยาว์มิได้ถูกทอดทิ้งแต่อยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของสถานสงเคราะห์เด็กตามกฎหมายว่าด้วย การสงเคราะห์และคุ้มครองเด็ก บิดาและมารดา หรือบิดา หรือมารดาในกรณีที่มารดาหรือบิดาคนใดคนหนึ่ง ตายหรือถูกถอนอำนาจปกครอง จะทำหนังสือมอบอำนาจให้สถานสงเคราะห์เด็กดังกล่าวเป็นผู้มีอำนาจให้ ความยินยอมในการรับผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมแทนตนก็ได้ ในกรณีเช่นนั้นให้นำความในมาตรา 1598/22 มา ใช้บังคับโดยอนุโลม ตามมาตรา 1598/23 วรรคหนึ่ง
หนังสือมอบอำนาจตามวรรคหนึ่งจะถอนเสียมิได้ตราบเท่าที่ผู้เยาว์ยังอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของสถาน สงเคราะห์เด็กนั้น ตามมาตรา 1598/23 วรรคสอง
7. ผู้มีอำนาจให้ความยินยอมแทนสถานสงเคราะห์เด็กในการรับบุตรบุญธรรมมาตรา 1598/22 หรือ มาตรา 1598/23 จะรับผู้เยาว์ซึ่งอยู่ในความดูแลหรืออยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของสถานสงเคราะห์เด็กนั้นเป็นบุตร บุญธรรมของตนเองได้ต่อเมื่อศาลได้มีคำสั่งอนุญาตตามคำขอของผู้นั้นแทนการให้ความยินยอมของสถานสง เคราห์เด็ก ตามมาตรา 1598/24
8. ผู้จะรับบุตรบุญธรรมหรือผู้จะเป็นบุตรบุญธรรม ถ้ามีคู่สมรสอยู่ต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรสก่อน ใน กรณีที่คู่สมรสไม่อาจให้ความยินยอมได้หรือไปเสียจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่และหาตัวไม่พบเป็นเวลาไม่น้อย กว่าหนึ่งปี ต้องร้องขอต่อศาลให้มีคำสั่งอนุญาตแทนการให้ความยินยอมของคู่สมรสนั้น ตามมาตรา 1598/25
9. ผู้เยาว์ที่เป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลใดอยู่จะเป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลอื่นอีกในขณะเดียวกันไม่ได้ เว้นแต่ เป็นบุตรบุญธรรมของคู่สมรสของผู้รับบุตรบุญธรรม ตามมาตรา 1598/26 วรรคหนึ่ง
ถ้าคู่สมรสฝ่ายหนึ่งจะจดทะเบียนรับผู้เยาว์ซึ่งเป็นบุตรบุญธรรมของคู่สมรสอีกฝ่ายหนึ่งเป็นบุตรบุญธรรม ของตนด้วย จะต้องได้รับความยินยอมของคู่สมรสซึ่งเป็นผู้รับบุตรบุญธรรมอยู่แล้วและมิให้นำมาตรา 1598/21 มาใช้บังคับ ตามมาตรา 1598/26 วรรคสอง
10. การรับบุตรบุญธรรมจะสมบูรณ์ต่อเมื่อได้จดทะเบียนตามกฎหมาย แต่ถ้าผู้จะเป็นบุตรบุญธรรมนั้นเป็นผู้ เยาว์ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมก่อน ตามมาตรา 1598/27 และ การจดทะเบียน รับบุตรบุญธรรม ให้ผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมเป็นผู้ร้องขอ ตาม พ.ร.บ.จดทะเบียนครอบครัว พ.ศ.2478 มาตรา 22 วรรคหนึ่ง
11. ให้นายทะเบียนรับจดทะเบียนต่อเมื่อทั้งสองฝ่ายให้ถ้อยคำว่า ได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ว่านั้น หรือถ้อยคำที่ ได้ให้ไว้ไม่เป็นความจริง ห้ามมิให้รับจดทะเบียน ตามมาตรา 22 วรรคสอง พ.ร.บ.จดทะเบียนครอบครัว พ.ศ.2478
ถ้านายทะเบียนไม่ยอมรับจดทะเบียนการรับบุตรบุญธรรม ผู้ร้องขอจดทะเบียนฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดจะยื่น คำร้องต่อศาลก็ได้ โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาล เมื่อศาลไต่สวนได้ความว่าการได้เป็นไปตามเงื่อนไขแห่ง กฎหมายครบถ้วนแล้ว ก็ให้ศาลมีคำสั่งไปให้รับจดทะเบียน ตามมาตรา 22 วรรคสาม พ.ร.บ.จดทะเบียน ครอบครัว พ.ศ.2478
12. บุตรบุญธรรมย่อมมีฐานนะอย่างเดียวกับบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้รับบุตรบุญธรรมนั้น แต่ไม่สูญสิทธิ และหน้าที่ในครอบตรัวที่ได้กำเนิดมา ในกรณีเช่นนี้ ให้บิดามาตราโดยกำเนิดหมดอำนาจปกครองนับแต่วัน เวลาที่เด็กเป็นบุตรบุญธรรมแล้ว ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 15
13. การรับบุตรบุญธรรมไม่ก่อให้ผู้รับบุตรบุญธรรมเกิดสิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรมในฐานะทายาทโดย ธรรมเพราะเหตุการรับบุตรบุญธรรม ตามมาตรา 1598/29
14. ถ้าบุตรบุญธรรมซึ่งไม่มีคู่สมรสหรือผู้สืบสันดานตายก่อนผู้รับบุตรบุญธรรม ผู้รับบุตรบุญธรรมมีสิทธิเรียก ร้องเอาทรัพย์สินที่ตนได้ให้แก่บุตรบุญธรรมคืนจากกองมรดกของบุตรบุญธรรมเพียงเท่าที่ทรัพย์สินนั้น ยังคง เหลืออยู่ภายหลังที่ชำระหนี้ของกองมรดกเสร็จสิ้นแล้ว ตามมาตรา 1598/30 วรรคหนึ่ง
ห้ามมิให้ฟ้องคดีเรียกร้องสิทธิตามวรรคหนึ่ง เมื่อพ้นกำหนดหนึ่งปีนับแต่เวลาที่ผู้รับบุตรบุญธรรมได้รู้หรือ ควรได้รู้ถึงความตายของบุตรบุญธรรมหรือเมื่อพ้นกำหนดสิบปี นับแต่วันที่บุตรบุญธรรมตาย ตามมาตรา 1598/30 วรรคสอง
15. การเลิกรับบุตรบุญธรรม ถ้าบุตรบุญธรรมบรรลุนิติภาวะแล้วจะเลิกโดยความตกลงกันในระหว่างผู้รับบุตร บุญธรรมกับบุตรบุญธรรมเมื่อใดก็ได้ ตามมาตรา 1598/31 วรรคหนึ่ง
ถ้าบุตรบุญธรรมยังไม่ได้บรรลุนิติภาวะ การเลิกรับบุตรบุญธรรมจะทำได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมของ บิดาและมารดาและให้นำมาตรา 1598/20 และมาตรา 1598/21 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ตามมาตรา 1598/31 วรรคสอง
ในกรณที่ได้รับผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมตามมาตรา 1598/21 วรรคสอง มาตรา 1598/22 มาตรา 1598/23 มาตรา 1598/24 หรือมาตรา 1598/26 วรรคสอง ถ้าบุตรบุญธรรมยังไม่บรรลุนิติภาวะ การเลิกรับบุตรบุญธรรม ให้กระทำได้ ต่อเมื่อมีคำสั่งศาลโดยคำร้องขอของผู้มีส่วนได้เสียหรือพนักงานอัยการ ตามมาตรา 1598/31 วรรคสาม
การเลิกรับบุตรบุญธรรมจะสมบูรณ์ต่อเมื่อได้จดทะเบียนตามกฎหมาย ตามมาตรา 1598/31 วรรคสี่ และ การจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมโดยความตกลงนั้น ให้นายทะเบียนรับจดเมื่อทั้งสองฝ่ายร้องขอ ตามมาตรา 23 วรรคหนึ่ง แห่ง พ.ร.บ.จดทะเบียนครอบครัว พ.ศ.2478
16. การรับบุตรบุญธรรมย่อมเป็นอันยกเลิกเมื่อมีการสมรสฝ่าฝืนมาตรา 1451 คือกรณีที่ผู้รับบุตรบุญธรรมและ บุตรบุญธรรมทำการสมรสกันนั่นเอง ตามมาตรา 1598/32
17. คดีฟ้องเลิกการรับบุตรบุญธรรมนั้นจะกระทำได้เมื่อ (มาตรา 1598/33)
(1) ฝ่ายหนึ่งทำการชั่วร้ายไม่ว่าจะเป็นความผิดอาญาหรือไม่ เป็นเหตุให้อีกฝ่ายหนึ่งอับอายขายหน้าอย่าง ร้ายแรง หรือถูกเกลียดชัง หรือได้รับความเสียหายหรือเดือดร้อนเกินสมควร อีกฝ่ายหนึ่งฟ้องเลิกได้
(2) ฝ่ายหนึ่งหมิ่นประมาทหรือเหยีดหยามอีกฝ่ายหนึ่งหรือบุพการีของอีกฝ่ายหนึ่งอันเป็นการร้ายแรง อีก ฝ่ายหนึ่งฟ้องเลิกได้ ถ้าบุตรบุญธรรมกระทำการดังกล่าวต่อคู่สมรสของผู้รับบุตรบุญธรรม ให้ผู้รับบุตรบุญธรรม ฟ้องเลิกได้
(3) ฝ่ายหนึ่งกระทำการประทุษร้ายอีกฝ่ายหนึ่งหรือบุพการีหรือคู่สมรสของอีกฝ่ายหนึ่งเป็นเหตุให้เกิด อันตรายแก่กายหรือจิตใจอย่างร้ายแรงและการกระทำนั้นเป็นความผิดที่มีโทษอาญา อีกฝ่ายหนึ่งฟ้องเลิกได้
(4) ฝ่ายหนึ่งไม่อุปการะเลี้ยงดูอีกฝ่ายหนึ่ง อีกฝ่ายหนึ่งนั้นฟ้องเลิกได้
(5) ฝ่ายหนึ่งจงใจละทิ้งอีกฝ่ายหนึ่งไปเกินหนึ่งปี อีกฝ่ายหนึ่งนั้นฟ้องเลิกได้
(6) ฝ่ายหนึ่งต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกเกินสามปี เว้นแต่ความผิดที่กระทำโดยประมาท อีกฝ่ายหนึ่ง ฟ้องเลิกได้
(7) ผู้รับบุตรบุญธรรมทำผิดหน้าที่บิดามารดา และการกระทำนั้นเป็นการละเมิดหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 1564 มาตรา 1571 มาตรา 1573 มาตรา 1574 หรือมาตรา 1575 เป็นเหตุให้เกิดหรืออาจเกิดความเสียหาย อย่างร้ายแรงต่อบุตรบุญธรรมฟ้องเลิกได้
(8) ผู้รับบุตรบุญธรรมผู้ใดถูกถอนอำนาจปกบางส่วนหรือทั้งหมด และเหตุที่ถูกถอนอำนาจปกครองนั้นมี พฤติการณ์แสดงให้เห็นว่า ผู้นั้นไม่สมควรเป็นผู้รับบุตรบุญธรรมต่อไป บุตรบุญธรรมฟ้องเลิกได้
18. ห้ามมิให้ฟ้องขอเลิกการรับบุตรบุญธรรมเมื่อพ้นกำหนด 1 ปีนับแต่วันที่ผู้ขอเลิกการรับบุตรบุญธรรมรู้หรือ ควรได้รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นเหตุให้เลิกการนั้นหรือเมื่อพ้นกำหนดสิบปีนับแต่เหตุนั้นเกิดขึ้น ตามมาตรา 1598/34
19. การฟ้องเลิกการรับบุตรบุญธรรมถ้าบุตรบุญธรรมมีอายุไม่ครบสิบห้าปีบริบูรณ์ให้บิดามารดาโดยกำเนิดเป็น ผู้มีอำนาจฟ้องแทน แต่ถ้าบุตรบุญธรรมมีอายุสิบห้าปีบริบูรณ์แล้วบุตรบุญธรรมฟ้องได้โดยไม่ต้องได้รับความ ยินยอมจากผู้ใด ตามมาตรา 1598/35 วรรคหนึ่ง
ในกรณีตามวรรคหนึ่ง อัยการจะฟ้องคดีแทนบุตรบุญธรรมก็ได้ ตามมาตรา 1598/35 วรรคสอง
19. การเลิกรับบุตรบุญธรรมโดยคำพิพากษาของศาล ย่อมมีผลแต่เวลาที่คำพิพากาษาถึงที่สุด แต่จะอ้างเป็น เหตุเสื่อมเสียสิทธิของบุคคลภายนอกผู้ทำการโดยสุจริตไม่ได้ เว้นแต่ได้จดทะเบียนแล้ว ตามมาตรา 1598/36
20.กรณีถ้าศาลพิพากษาให้เพิกถอนหรือเลิกการรับบุตรบุญธรรม ให้นำมาตรา 16 มาบังคับโดยอนุโลม ตาม พ.ร.บ.จดทะเบียนครอบครัว พ.ศ.2478 มาตรา 23 วรรคสอง
ตามมาตรา 16 คือ เมื่อศาลได้พิพากษาให้เพิกถอนหรือเลิกการรับบุตรบุญธรรม ผู้มีส่วนได้เสียจะขอให้ นายทะเบียนบันทึกไว้ในทะเบียนก็ได้ แต่ต้องยื่นสำเนาคำพิพากษาอันถึงที่สุดที่รับรองว่าถูกต้องแล้วต่อนาย ทะเบียนนั่นเอง
21. เมื่อผู้รับบุตรบุญธรรมตายหรือมีการเลิกรับบุตรบุญธรรม ถ้าบุตรบุญธรรมยังไม่บรรลุนิติภาวะ ให้บิดา มารดาโดยกำเนิดกลับมีอำนาจปกครองนับแต่เวลาที่ผู้รับบุตรบุญธรรมตาย หรือนับแต่เวลาที่จดทะเบียนเลิก การรับบุตรบุญธรรม ตามมาตรา 1598/31 หรือนับแต่เวลาที่ศาลมีคำพิพากษาภึงที่สุดให้เลิกการรับบุตร บุญธรรม เว้นแต่ศาลเห็นสมควรสั่งเป็นประการอื่น ตามมาตรา 1598/37 วรรคหนึ่ง
ในกรณีที่มีการตั้งผู้ปกครองของผู้เป็นบุตรบุญธรรมไว้ก่อนผู้รับบุตรบุญธรรมตาย หรือก่อนการเลิกรับบุตร บุญธรรม ให้ผู้ปกครองยังคงมีอำนาจหน้าที่เช่นเดิมต่อไป เว้นแต่บิดามารดาโดยกำเนิดจะร้องขอ และศาลมีคำ สั่งให้ผู้ร้องขอเป็นผู้มีอำนาจปกครอง ตามมาตรา 1598/37 วรรคสอง
การเปลี่ยนผู้ใช้อำนาจปกครองตามวรรคหนึ่งหรือผู้ปกครองตามวรรคสอง ไม่เป็นเหตุให้เสื่อสิทธิที่บุคคล ภายนอกได้มาก โดยสุจริตก่อนผู้รับบุตรธรรมตายหรือก่อนจดทะเบียนเลิกการรับบุตรบุญธรรม ตามมาตรา 1598/37 วรรคสาม
ให้พนักงานอัยการเป็นผู้มีอำนาจร้องขอเพิ่อให้ศาลมีคำสั่งเป็นประการอื่นตามวรรคหนึ่ง ตามมาตรา 1598/37 วรรคท้าย
หน้าที่ของทนายความคดีจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
1. เตรียมคดี โดยการตรวจสอบข้อเท็จจริงต่างๆ ทั้งจากฝ่ายลูกความและบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
2. ตรวจสอบความเรียบร้อยของเอกสารว่าลูกความว่ามีครบถ้วนถูกต้องหรือไม่ เพราะคดีเกี่ยวกับจดทะเบียนรับ บุตรบุญธรรมอาจมีเอกสาร เอกสารราชการหรือเอกสารมหาชนเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม หนังสือให้ความยินยอมของบิดามารดาหรือผู้ปกครอง กรณีผู้จะเป็นบุตรบุญธรรมเป็นผู้เยาว์ เป็นต้น
3. ตรวจสอบสิทธิ,หน้าที่ ทั้งหมดของลูกความและบุคคลฝ่ายอื่นที่เีกี่ยวข้องด้วย เช่น เหตุที่ทำให้รับบุตร บุญธรรมได้ เหตุให้เลิกรับบุตรบุญธรรมได้ เป็นต้น
4. ค้นหาข้อกฎหมาย และติดตามการแก้ไขกฎหมายใหม่อยู่เสมอ เพราะกฎหมายในเรื่องนี้ ได้มีการแก้ไขล่าสุด ในปี พ.ศ.2551 เพื่อการกำหนดสิทธิและหน้าที่ของคู่ความได้อย่างถูกต้อง ตรวจสอบคำพิพากษศาลฎีกาที่ เกี่ยวข้อง และอายุความหรือระยะเวลาในการดำเนินคดีของลูกความ
5. ดูแลผลประโยชน์ของลูกความในผลความคืบหน้าของคดีอย่างสม่ำเสมอ
6. ให้คำแนะนำปรึกษาในทางกระบวนพิจารณาของศาลและข้อกฎหมายแก่ลูกความอย่างถูกต้องครบถ้วน เพื่อ ประกอบการตัดสินใจของลูกความ