+66 25 121 941
+66 25 121 941
+66 92 854 8800
ratchadalawfirm32@gmail.com
Facebook
Ratchada Law Firm
หน้าแรก
ทนายความ
งานบริการ
บริการทนายความ
ทนายความคดีกู้ยืมเงิน
ทนายความคดีผิดสัญญา
ทนายคดีซื้อขาย
ทนายความคดีเช่าทรัพท์,เช่าซื้อ
ทนายความคดีค้ำประกัน
ทนายคดีจำนอง,ทนายคดีจำนำ
ทนายคดีประกันภัย
ทนายคดีเช็ค,ทนายคดีตั๋วแลกเงิน,ทนายคดีตั๋วสัญญาใช้เงิน
ทนายความคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน
ทนายคดีบัตรเครดิต
ทนายความคดีที่,กรรมสิทธิ์ที่ดิน,ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
สาระสำคัญของคดีความผิดต่อชีวิต
ทนายคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ทนายความคดีความผิดต่อร่างกาย
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างการผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายและจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้รับอันตรายสาหัส
ทนายคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายคดีความผิดฐานชิงทรัพท์
ทนายคดีความผิดฐานปล้นทรัพท์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพท์
ทนายความคดีฐานฉ้อโกง
บริการติดตามทวงหนี้
บริการด้านจดทะเบียนธุรกิจ
บริการทางการบัญชี-ภาษีอากร
บริการทางด้านบัญชีเพื่อการบริหาร
บริการวางระบบบัญชี
บริการวิเคราะห์งบการเงิน
บริการจดทะเบียนธุรกิจ
การสืบสวน
บทความ
บทความบุตรนอกสมรสกับสิทธิในการรับมรดกของบิดา
บทความสิทธิของผู้ใช้บริการ
บทความการค้ำประกัน
คดีความยาบ้า ยาเสพติด ใส่รูปยาเสพติด
บทความคดีเพ่ง
บทความละเมิดสัญญาและเก็บทรัพย์สินทางปัญญา
บทความทนายความจำเลยในคดีอาญา
บทความใส่ร้ายทนายความ
บทความกฎหมายแรงงานและการจ้างงาน
ส่งผู้ร้ายข้ามแดนคืออะไร?
กรณีตายผิดศีลธรรม
การบอกเลิกสัญญาโดยมิชอบ
คดีความ
คดีแพ่ง
คดีกู้ยืมเงิน
คดีผิดสัญญา
คดีซื้อขาย
คดีเช่าทรัพท์, เช่าซื้อ
คดีค้ำประกัน
คดีจำนอง,จำนำ
คดีประกันภัย
คดีเช็ค,ตั๋วแลกเงิน, ตั๋วสัญญาใช้เงิน
คดีทรัพท์สิน
คดีบัตรเครดิต
คดีที่ดิน, กรรมสิทธิ์ที่ดิน, ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
คดีอาญา
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
คดีความต่อร่างกาย
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้ได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความผิดฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานชิงทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานปล้นทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานฉ้อโกง
ทนายความคดีความผิดฐานยักยอกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานรับของโจร
คดีครอบครัว
คดีฟ้องหย่า
คดีจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
คดีหย่า ที่ต้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดู บุตรหรือคู่สมรส
คดีแบ่งทรัพย์สินระหว่างคู่สมรส
คดีเรียกของหมั้นหรือสินสอดคืน
คดีผิดสัญญาหมั้น
คดีมรดก
คดีจัดการมรดก
คดีจัดทำพินัยกรรม
คดีร้องขอแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
คดีผู้จัดการมรดกเฉพาะส่วน
คดีร้องขอถอดถอนผู้จัดการมรดก
คดีภาษี
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีสอบสวนพิเศษ
ทนายความคดีเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
คดีล้มละลายและคดีฟื้นฟูกิจการ
อสังหาริมทรัพย์
การซื้อที่ดินและทรัพย์สินในประเทศไทย
กรรมสิทธิ์ที่ดินและภาษี
วิธีการที่ บริษัท ไทยสามารถซื้อที่ดิน
การเป็นเจ้าของธุรกิจต่างประเทศ
ผู้ถือหุ้น
สิทธิเก็บกิน
คอนโดมิเนียม
เช่าที่ดิน
วีซ่า
บริการขอวีซ่าและเวิร์คเพอร์มิท
ประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร (Transit Visa)
ประเภทนักท่องเที่ยว (Tourist Visa)
ประเภทคนอยู่ชั่วคราว (Non-Immigrant Visa)
ประเภทฑูต (Diplomatic Visa)
ประเภทราชการ (Offical Visa)
ประเภทอัธยาศัยไมตรี (Courtesy Visa)
ใบอนุญาตทำงานหรือ WORK PERMIT
วีซ่าแต่งงาน
รายละเอียดสำหรับการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นอยู่ในราชอาณาจักร
การยื่นต่ออายุวีซ่า
วีซ่าเกษียณอายุ
บริการแปลเอกสารทุกประเภทและล่ามสื่อสาร 5 ภาษา
บริการรายงานตัวแทน
บริการรายงานตัวแทน
ติดต่อเรา
Menu
หน้าแรก
ทนายความ
งานบริการ
บริการทนายความ
ทนายความคดีกู้ยืมเงิน
ทนายความคดีผิดสัญญา
ทนายคดีซื้อขาย
ทนายความคดีเช่าทรัพท์,เช่าซื้อ
ทนายความคดีค้ำประกัน
ทนายคดีจำนอง,ทนายคดีจำนำ
ทนายคดีประกันภัย
ทนายคดีเช็ค,ทนายคดีตั๋วแลกเงิน,ทนายคดีตั๋วสัญญาใช้เงิน
ทนายความคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน
ทนายคดีบัตรเครดิต
ทนายความคดีที่,กรรมสิทธิ์ที่ดิน,ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
สาระสำคัญของคดีความผิดต่อชีวิต
ทนายคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ทนายความคดีความผิดต่อร่างกาย
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างการผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายและจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้รับอันตรายสาหัส
ทนายคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายคดีความผิดฐานชิงทรัพท์
ทนายคดีความผิดฐานปล้นทรัพท์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพท์
ทนายความคดีฐานฉ้อโกง
บริการติดตามทวงหนี้
บริการด้านจดทะเบียนธุรกิจ
บริการทางการบัญชี-ภาษีอากร
บริการทางด้านบัญชีเพื่อการบริหาร
บริการวางระบบบัญชี
บริการวิเคราะห์งบการเงิน
บริการจดทะเบียนธุรกิจ
การสืบสวน
บทความ
บทความบุตรนอกสมรสกับสิทธิในการรับมรดกของบิดา
บทความสิทธิของผู้ใช้บริการ
บทความการค้ำประกัน
คดีความยาบ้า ยาเสพติด ใส่รูปยาเสพติด
บทความคดีเพ่ง
บทความละเมิดสัญญาและเก็บทรัพย์สินทางปัญญา
บทความทนายความจำเลยในคดีอาญา
บทความใส่ร้ายทนายความ
บทความกฎหมายแรงงานและการจ้างงาน
ส่งผู้ร้ายข้ามแดนคืออะไร?
กรณีตายผิดศีลธรรม
การบอกเลิกสัญญาโดยมิชอบ
คดีความ
คดีแพ่ง
คดีกู้ยืมเงิน
คดีผิดสัญญา
คดีซื้อขาย
คดีเช่าทรัพท์, เช่าซื้อ
คดีค้ำประกัน
คดีจำนอง,จำนำ
คดีประกันภัย
คดีเช็ค,ตั๋วแลกเงิน, ตั๋วสัญญาใช้เงิน
คดีทรัพท์สิน
คดีบัตรเครดิต
คดีที่ดิน, กรรมสิทธิ์ที่ดิน, ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
คดีอาญา
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
คดีความต่อร่างกาย
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้ได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความผิดฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานชิงทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานปล้นทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานฉ้อโกง
ทนายความคดีความผิดฐานยักยอกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานรับของโจร
คดีครอบครัว
คดีฟ้องหย่า
คดีจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
คดีหย่า ที่ต้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดู บุตรหรือคู่สมรส
คดีแบ่งทรัพย์สินระหว่างคู่สมรส
คดีเรียกของหมั้นหรือสินสอดคืน
คดีผิดสัญญาหมั้น
คดีมรดก
คดีจัดการมรดก
คดีจัดทำพินัยกรรม
คดีร้องขอแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
คดีผู้จัดการมรดกเฉพาะส่วน
คดีร้องขอถอดถอนผู้จัดการมรดก
คดีภาษี
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีสอบสวนพิเศษ
ทนายความคดีเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
คดีล้มละลายและคดีฟื้นฟูกิจการ
อสังหาริมทรัพย์
การซื้อที่ดินและทรัพย์สินในประเทศไทย
กรรมสิทธิ์ที่ดินและภาษี
วิธีการที่ บริษัท ไทยสามารถซื้อที่ดิน
การเป็นเจ้าของธุรกิจต่างประเทศ
ผู้ถือหุ้น
สิทธิเก็บกิน
คอนโดมิเนียม
เช่าที่ดิน
วีซ่า
บริการขอวีซ่าและเวิร์คเพอร์มิท
ประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร (Transit Visa)
ประเภทนักท่องเที่ยว (Tourist Visa)
ประเภทคนอยู่ชั่วคราว (Non-Immigrant Visa)
ประเภทฑูต (Diplomatic Visa)
ประเภทราชการ (Offical Visa)
ประเภทอัธยาศัยไมตรี (Courtesy Visa)
ใบอนุญาตทำงานหรือ WORK PERMIT
วีซ่าแต่งงาน
รายละเอียดสำหรับการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นอยู่ในราชอาณาจักร
การยื่นต่ออายุวีซ่า
วีซ่าเกษียณอายุ
บริการแปลเอกสารทุกประเภทและล่ามสื่อสาร 5 ภาษา
บริการรายงานตัวแทน
บริการรายงานตัวแทน
ติดต่อเรา
Attorney of
Civil case
Criminal law case
Family Law case
Heritage case
Criminal Law case
Administrative case
Taxes Law case
บริษัทกฏหมายที่มีความน่าเชื่อถือใน ประเทศไทย
เรทราคาที่ยอมรับได้
ทุกปัญหา
ทางกฏหมาย สามารถติดต่อปรึกษาได้ ฟรี!
เริ่มต้นกับเราวันนี้
Please enable JavaScript in your browser to complete this form.
Message
Submit
คดีร้องขอถอดถอนผู้จัดการมรดก
สาระสำคัญของคดีร้องขอถอดถอนผู้จัดการมรดก
1. เรื่องการร้องขอถอดถอนผู้จัดการมรดกนั้น มีกฎหมายบัญญัติรับรองอยู่ในประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ บรรพ 6 มรดก ลักษณะ 4 วิธีการจัดการและปันทรัพย์มรดก หมวด 1 ว่าด้วยเรื่องผู้จัดการมรดก
2. ผู้จัดการมรดกจะทำนิติกรรมใดๆ ซึ่งตนมีส่วนได้เสียเป็นปฏิปักษ์ต่อกองมรดกหาได้ไม่ เว้นแต่พนัยกรรมจะ อนุญาตไว้ หรือได้รับอนุญาตจากศาล ตามมาตรา 1722
ตัวอย่างคำพิพากษาศาลฎีกาที่ถือว่าเป็นการกระทำปฏิปักษ์ต่อกองมรดก
คำ - คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 10738/2551 ศาลมีคำสั่งตั้งจำเลยเป็นผู้จัดการมรดกของ บ. ซึ่งเป็นมารดาของผู้ ร้องและจำเลยเนื่องจากจำเลยอ้างว่า บ. ทำพินัยกรรมยกที่ดินพิพาทให้จำเลย แล้วจำเลยจดทะเบียนโอนที่ดิน พิพาทเป็นของจำเลยและนำไปจำนองเป็นประกันหนี้ต่อโจทก์ต่อมาศาลพิพากษาให้จำเลยชำระหนี้แก่โจทก์ และให้ยึดที่ดินพิพาทออกขายทอดตลาดซึ่งโจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินพิพาทเพื่อบังคับคดีแล้ว แต่ผู้ ร้องยื่นคำร้องในคดีที่จำเลยร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกขอให้ถอนจำเลยออกจากการเป็นผู้จัดการมรดกของ บ. ศาลไต่สวนและมีคำสั่งถอนจำเลยออกจากการเป็นผู้จัดการมรดกเนื่องจากพินัยกรรมที่จำเลยอ้างเป็นโมฆะ และ ตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกแทน คดีถึงที่สุดแล้ว กรณีจึงต้องถือว่าขณะจำเลยในฐานะผู้จัดการมรดกโอนที่ดิน พิพาทให้แก่ตนเองในฐานะส่วนตัวทั้งที่ตนไม่มีสิทธิได้รับทรัพย์ตามพินัยกรรมที่อ้าง เป็นการทำนิติกรรมซึ่งตน มีส่วนได้เสียเป็นปฏิปักษ์ต่อกองมรดกของ บ. อันเป็นการต้องห้ามโดยชัดแจ้งตาม ป.พ.พ. มาตรา 1722 นิติกรรมการโอนตกเป็นโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา 150 โดยถือเสมือนว่ามิได้มีนิติกรรมการโอนเกิดขึ้นเลย กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทยังเป็นของกองมรดกของ บ. อยู่ตามเดิม สัญญาจำนองที่จำเลยในฐานะส่วนตัวทำกับ โจทก์ก็ไม่ก่อให้เกิดสิทธิใด ๆ แก่โจทก์ที่จะบังคับเอาแก่ที่ดินพิพาท เพราะผู้จำนองไม่ได้เป็นเจ้าของทรัพย์ที่ จำนองตาม ป.พ.พ. มาตรา 705 แม้โจทก์จะอ้างว่ารับจำนองโดยสุจริตก็ตาม
เมื่อผู้ร้องยื่นคำร้องในคดีที่โจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินพิพาทเพื่อบังคับคดีโดยอ้างข้อเท็จจริง ดังกล่าว และขอให้เพิกถอนหมายบังคับคดี จึงเป็นคำร้องที่มีความหมายว่า โจทก์ขอหมายบังคับคดีเอาแก่ที่ดิน พิพาทซึ่งมิใช่กรรมสิทธิ์ของจำเลยที่เป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษา และโจทก์ไม่ได้เป็นผู้รับจำนองไว้โดยชอบ เพราะไม่ได้รับจำนองไว้จากผู้เป็นเจ้าของทรัพย์ แต่เป็นการบังคับคดีเอาแก่ทรัพย์สินของบุคคลภายนอก อัน เป็นการฝ่าฝืนต่อ ป.วิ.พ. มาตรา 282 วรรคหนึ่ง ถือได้ว่าผู้ร้องกล่าวอ้างว่าหมายบังคับคดีฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติ ว่าด้วยการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งตาม ป.วิ.พ. มาตรา 296 วรรคหนึ่ง การที่โจทก์ยื่นคำขอเจาะจง ว่าให้ศาลชั้นต้นออกหมายบังคับคดีเพื่อดำเนินการบังคับคดีแก่ที่ดินพิพาท และศาลชั้นต้นออกหมายบังคับคดี ให้ตามขอ ถือได้ว่าเป็นการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1099/2550 ถ. ทำพินัยกรรมยกที่ดินพิพาทและทรัพย์สินอื่นทั้งหมดให้แก่ผู้ร้อง ตามพินัยกรรมเอกสารหมาย ร.4 ว. ซึ่งเป็นบุตรของ ถ. จึงเป็นผู้ถูกตัดมิให้รับมรดกตาม ป.พ.พ. มาตรา 1608 วรรคสอง ว. ย่อมไม่อยู่ในฐานะผู้มีส่วนได้เสียของ ถ. ไม่มีสิทธิยื่นคำร้องขอต่อศาลให้ตั้งผู้จัดการมรดกตาม ป.พ.พ มาตรา 1713 แต่เมื่อศาลมีคำสั่งตั้ง ว. เป็นผู้จัดการมรดกของ ถ. แล้ว ว. ย่อมมีหน้าที่ต้องดำเนินการแบ่ง ปันทรัพย์มรดกให้แก่ผู้ร้องซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมตามที่บัญญัติไว้ใน ป.พ.พ. มาตรา 1719 และจะทำนิติกรรม ใด ๆ ซึ่งตนมีส่วนได้เสียเป็นปฏิปักษ์ต่อกองมรดกและต่อผู้ร้องซึ่งตนเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองอยู่หาได้ไม่ การที่ ว. ในฐานะผู้จัดการมรดกของ ถ. และเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองผู้ร้องไปรับโอนที่ดินพิพาทอันเป็นมรดกของ ถ. ซึ่งตกทอดแก่ผู้ร้องมาเป็นของตนเองในฐานะส่วนตัว ย่อมไม่เป็นการแบ่งปันทรัพย์มรดกตามหน้าที่ผู้จัดการ มรดกตามข้อกำหนดในพินัยกรรม แต่เป็นการทำนิติกรรม ให้ ว. มีส่วนได้เสียเป็นปฏิปักษ์ต่อกองมรดกของ ถ. อันเป็นการต้องห้ามโดยแจ้งชัดตาม ป.พ.พ. มาตรา 1722 นิติกรรมการโอนตกเป็นโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา 150 และเป็นกิจการที่ประโยชน์ของผู้ใช้อำนาจปกครองขัดกับประโยชน์ของผู้เยาว์โดยไม่ได้รับอนุญาตจาก ศาลย่อมเป็นโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา 1575 ถือเสมือนว่ามิได้มีนิติกรรมการโอนเกิดขึ้นเลย กรรมสิทธิ์ในที่ดิน พิพาทรวมทั้งสิ่งปลูกสร้างจึงยังคงเป็นมรดกของ ถ. ซึ่งตกทอดได้แก่ผู้ร้องตามเดิมหาตกเป็นกรรมสิทธิ์ของ ว. ไม่ เมื่อ ว. ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทและสิ่งปลูกสร้างแล้วก็ไม่มีสิทธินำไปจำนองแก่ผู้ใด การที่โจทก์เป็น ผู้รับจำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างไว้จาก ว. ย่อมไม่เกิดผลให้โจทก์มีสิทธิตามนิติกรรมจำนอง แม้โจทก์จะอ้าง ว่ารับจำนองไว้โดยสุจริตก็หามีผลให้โจทก์กลับมีสิทธิตามนิติกรรมจำนองไม่ การจำนองจึงไม่ผูกพันผู้ร้องซึ่ง เป็นเจ้าของที่ดินพิพาทที่แท้จริง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 9295/2547 ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า “...พิเคราะห์ แล้ว ข้อเท็จจริงที่คู่ความมิได้ฎีกาโต้ แย้งกันรับฟังเป็นที่ยุติได้ว่าโจทก์เป็น บุตรนอกกฎหมายที่นายสมพงษ์ผู้ตายได้รับรองแล้วส่วนเรือตรีประสิทธิ์ ซึ่งเป็น บิดาของจำเลยที่ 1 และเป็นสามีของจำเลยที่ 2 นั้นเป็นพี่ของผู้ตาย เดิมที่ดินพิพาทโฉนดเลขที่ 3648 และ 10583 ตำบลโกรกกราก อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร มีชื่อผู้ตายเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ เมื่อวัน ที่ 19 มกราคม 2531 นายสมพงษ์ถึงแก่ความตาย ศาลชั้นต้นมีคำสั่งตั้งเรือตรีประสิทธิ์เป็นผู้จัดการมรดก ต่อมา ในปี 2532 เรือตรีประสิทธิ์ได้ปลูกสร้างบ้านเลขที่ 50 ก. ลงบนที่ดินโฉนดเลขที่ 3648 และเรือตรีประสิทธิ์กับ จำเลยทั้งสองได้เข้าอยู่อาศัยในบ้านหลังดังกล่าว ปี 2534 เรือตรีประสิทธิ์ในฐานะผู้จัดการมรดกได้โอนที่ดินทั้ง สองแปลงเป็นของตน จากนั้นในปี 2537 เรือตรีประสิทธิ์ถึงแก่ความตาย จำเลยทั้งสองยังคงพักอาศัยอยู่ที่บ้าน หลังดังกล่าว และจำเลยที่ 1 เป็นผู้ยึดถือโฉนดที่ดินพิพาททั้งสองแปลงไว้ ต่อมาปี 2540 ศาลมีคำสั่งตั้งโจทก์ เป็นผู้จัดการมรดกของนายสมพงษ์โจทก์ในฐานะผู้จัดการ มรดกได้บอกกล่าวให้จำเลยทั้งสองขนย้ายทรัพย์สิน และบริวารออกไปจากที่ดิน พิพาทโฉนดเลขที่ 3648 และให้จำเลยที่ 1 ส่งมอบโฉนดที่ดินพิพาททั้งสองแปลง คืนโจทก์ มีปัญหาต้องวินิจฉัยตามฎีกาของจำเลยทั้งสองประการแรกว่า ที่ดินพิพาททั้งสองแปลงยังคงเป็น ทรัพย์มรดกของนายสมพงษ์หรือไม่ เห็นว่าเมื่อผู้ตายมิได้ทำพินัยกรรมไว้ทรัพย์มรดกย่อมตกแก่ทายาทโดย ธรรม แม้โจทก์จะเป็นบุตรนอกกฎหมายของนายสมพงษ์ แต่นายสมพงษ์ก็ได้รับรองแล้ว ซึ่งตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1627 ให้ถือเป็นผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย โจทก์จึงเป็น ทายาทโดยธรรมลำดับที่ (1) มีสิทธิได้รับมรดกก่อนเรือตรีประสิทธิ์ซึ่งเป็นทายาทโดยธรรมลำดับที่ (3) ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629 และย่อมส่งผลให้เรือตรีประสิทธิ์ไม่มีสิทธิในทรัพย์มรดกของ นายสมพงษ์ผู้ตาย เลยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1630 วรรคหนึ่ง เรือตรีประสิทธิ์ในฐานะ ผู้จัดการมรดกมีเพียงสิทธิและหน้าที่ที่จะทำการอันจำ เป็นเพื่อจัดการมรดกโดยทั่วไปหรือเพื่อแบ่งปันทรัพย์ มรดกตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1719 ซึ่งจะต้องแบ่งส่วนมรดกให้แก่ทายาทผู้มีสิทธิใน มรดกตามที่กฎหมายบัญญัติเท่า นั้น การที่เรือตรีประสิทธิ์ในฐานะผู้จัดการมรดกโอนที่ดินพิพาททั้งสองแปลง ให้แก่ ตนเองทั้งที่ไม่มีสิทธิรับมรดกดังกล่าว จึงเป็นการกระทำโดยปราศจากอำนาจไม่มีผลผูกพันแต่ประการใด ที่จำเลยทั้งสองฎีกาว่า การที่เรือตรีประสิทธิ์โอนที่ดินมรดกทั้งสองแปลงให้แก่ตนเองเป็นสัญญาต่าง ตอบแทนที่ เรือตรีประสิทธิ์เอาเงินส่วนตัวชำระหนี้ไถ่ถอนจำนองแทนกองมรดกอัน เป็นการจัดการมรดกทั่วไป ซึ่งผู้จัดการ มรดกมีอำนาจทำได้ ไม่ใช่การแบ่งปันทรัพย์มรดก ที่ดินพิพาททั้งสองแปลงจึงเป็นทรัพย์สินส่วนตัวของเรือตรี ประสิทธิ์ มิใช่ทรัพย์มรดกของผู้ตายนั้น เห็นว่า โจทก์มีนางสาวลักษณา ซึ่งเป็นบุตรของเรือตรีประสิทธิ์กับนางสุ มลเป็นพยานเบิกความว่า เรือตรีประสิทธิ์ได้ขายที่ดินมรดกไป 1 แปลงเพื่อเอาเงินมาไถ่ถอนจำนองที่ดินมรดก อีก 2 แปลง ซึ่งตามสารบัญจดทะเบียนที่ดินทั้งสองแปลง ก็ปรากฏว่าเรือตรีประสิทธิ์ได้โอนที่ดินมรดกทั้งสอง แปลงให้เป็นของตนเองใน ระหว่างจำนอง ต่อมาในปี 2535 จึงไถ่ถอนจำนอง หากเรือตรีประสิทธิ์เอาเงินส่วน ตัวไถ่ถอนจำนองจริง ก็น่าจะจดทะเบียนไถ่ถอนจำนองก่อนที่จะมีการโอนที่ดินมรดกเป็นของตน กรณีจึงน่าเชื่อ ตามคำเบิกความของนางสาวลักษณาว่าที่เรือตรีประสิทธิ์เอาเงิน ที่ขายที่ดินมรดกไปไถ่ถอนจำนองที่ดินพิพาท ทั้งสองแปลงนอกจากนี้ตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1722 ยังห้ามผู้จัดการมรดกมิให้ทำ นิติกรรมใดๆ ซึ่งตนมีส่วนได้เสียเป็นปฏิปักษ์ต่อกองมรดก เว้นแต่จะมีพินัยกรรมอนุญาตหรือได้รับอนุญาตจาก ศาล การที่เรือตรีประสิทธิ์ทำนิติกรรมโอนทรัพย์มรดกให้แก่ตนเองซึ่งไม่ใช่ทายาท ถึงแม้จะเป็นการตอบแทน การเอาเงินส่วนตัวชำระหนี้ไถ่ถอนจำนองแทนกองมรดกอัน เป็นการจัดการมรดกทั่วไปตามที่จำเลยทั้งสองอ้าง มาในฎีกา ก็ไม่มีอำนาจกระทำเพราะเป็นปฏิปักษ์ต่อกองมรดกเมื่อผู้ตายมิได้ทำพินัยกรรม อนุญาตและไม่ได้รับ อนุญาตจากศาลย่อมตกเป็นโมฆะจึงไม่ทำให้เรือตรีประสิทธิ์ ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินมรดกทั้งสองแปลงโดย นิติกรรมแต่ประการใด ที่ศาลล่างทั้งสองพิพากษาว่า ที่ดินพิพาททั้งสองแปลงยังคงเป็นมรดกของผู้ตายและ โจทก์ในฐานะผู้จัดการมรดก มีอำนาจฟ้องจำเลยทั้งสองนั้น ศาลฎีกาเห็นพ้องด้วย ฎีกาของจำเลยทั้งสองในข้อ นี้ฟังไม่ขึ้น
ตัวอย่างคำพิพากษาศาลฎีกาที่ไม่ถือว่าเป็นการกระทำปฏิปักษ์ต่อกองมรดก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2220/2552 ที่ดินพิพาทเป็นสินสมรสระหว่าง ส. และจำเลยที่ 1 เมื่อ ส. ถึงแก่ความ ตายโดยมิได้ทำพินัยกรรมไว้ สินสมรสส่วนของ ส. กึ่งหนึ่งจึงตกแก่ทายาทโดยธรรม จำเลยที่ 1 เป็นผู้จัดการ มรดกของ ส. ตามคำสั่งศาล จึงมีฐานะเป็นผู้แทนตามกฎหมายของทายาทที่จะต้องจัดการมรดก เพื่อประโยชน์ แก่กองมรดกและทายาท โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากทายาท เพราะอำนาจหน้าที่และความรับผิดของผู้ จัดการมรดกต่อทายาทเกิดขึ้นโดยบทบัญญัติของกฎหมาย ไม่ใช่มีลักษณะเป็นตัวแทนของทายาทเพราะ บทบัญญัติของกฎหมายบรรพ 6 ให้นำบทบัญญัติของกฎหมายบรรพ 3 ลักษณะตัวแทนมาใช้โดยอนุโลม เท่านั้น
การที่จำเลยที่ 1 ในฐานะผู้จัดการมรดกโอนทรัพย์มรดกของ ส. บางส่วนให้แก่ตนเองเป็นการส่วนตัว ในฐานะที่ ตนเป็นทายาทโดยธรรมประเภทคู่สมรสของ ส. และให้แก่จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้จัดการมรดกของ ท. ซึ่งเป็น ทายาทของ ส. อีกคนหนึ่ง การกระทำเช่นนี้ไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อกองมรดก ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1722 ส่วนการที่จำเลยที่ 1 ในฐานะผู้จัดการมรดกของ ส. ไม่ทำการโอนที่ดินพิพาทให้แก่ทายาทอื่นของ ส. ซึ่งมี โจทก์ทั้งห้ารวมอยู่ด้วยก็เป็นเรื่องระหว่างจำเลยที่ 1 ในฐานะผู้จัดการมรดกของ ส. และโจทก์ทั้งห้าที่จะว่ากล่าว กันต่างหาก ดังนั้นที่จำเลยที่ 1 ในฐานะผู้จัดการมรดกของ ส. โอนที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ จัดการมรดกของ ท. ซึ่งเป็นทายาทของ ส. คนหนึ่ง จึงเป็นการกระทำไปตามอำนาจหน้าที่ของผู้จัดการมรดกที่ จะต้องกระทำโดยตนเอง ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1719 และมาตรา 1723
เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่า ท. ได้ครอบครองที่ดินพิพาทพร้อมสิ่งปลูกสร้างซึ่งเป็นทรัพย์มรดกของ ส. แต่ผู้เดียว นับแต่เจ้ามรดกตาย โดยทายาทคนอื่นรวมทั้งโจทก์ทั้งห้าไม่ได้ร่วมครอบครองทรัพย์มรดกดังกล่าวด้วยแต่ อย่างใดกรณีเช่นนี้ไม่มีบทกฎหมายสนับสนุนว่า ท. ครอบครองทรัพย์สินดังกล่าวแทนทายาทอื่น จึงไม่ต้องด้วย บทบัญญัติตาม ป.พ.พ. มาตรา 1748 โจทก์ทั้งห้าฟ้องคดีนี้เกิน 1 ปี จึงขาดอายุความตาม มาตรา 1754 วรรค หนึ่ง
เมื่อสิทธิในทรัพย์มรดกตกแก่ ท. โดยสมบูรณ์ นับแต่วันที่ 6 ตุลาคม 2529 ซึ่งเป็นวันครบกำหนด 1 ปี นับแต่ ส. เจ้ามรดกถึงแก่ความตาย จำเลยที่ 2 ถึงที่ 6 เป็นทายาทของ ท. ที่มีสิทธิรับมรดกของ ท. ทั้งจำเลยที่ 2 เป็นผู้ จัดการมรดกของ ท. ถือได้ว่าจำเลยที่ 2 ถึงที่ 6 เป็นบุคคลซึ่งชอบจะใช้สิทธิของทายาทอื่นจะยกอายุความ 1 ปี ขึ้นต่อสู้โจทก์ทั้งห้าได้ ตาม มาตรา 1755
การที่จำเลยที่ 1 ยื่นคำร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกและขอรังวัดแบ่งแยกที่ดินทรัพย์มรดกภายหลังจากที่ทายาท อื่นของ ส. ซึ่งรวมทั้งจำเลยที่ 1 สิ้นสิทธิในการเรียกร้องเอาทรัพย์มรดกแล้ว เป็นการยื่นเพื่อดำเนินการ เปลี่ยนแปลงหลักฐานทางทะเบียน เพื่อให้ ท. ได้สิทธิโดยสมบูรณ์ในทรัพย์มรดกเท่านั้น หาใช่เพื่อประโยชน์แก่ ทายาทอื่นซึ่งสิ้นสิทธิในการฟ้องคดีเกี่ยวกับทรัพย์มรดกไปโดยบทบัญญัติตาม ป.พ.พ. มาตรา 1754 วรรคหนึ่ง แล้วไม่
3. ผู้มีส่วนได้เสียคนหนึ่งคนใดจะร้องขอให้ศาลสั่งถอนผู้จัดการมรดก เพราะเหตุผู้จัดการมรดกละเลยไม่ทำการ ตามหน้าที่ หรือเพราะอย่างอื่นที่สมควรก็ได้ แต่ต้องร้องขอเสียก่อนที่การปันมรดกเสร็จสิ้นลง ตามมาตรา 1727 วรรคหนึ่ง
ถึงแม้ว่าจะได้เข้ารับตำแหน่งแล้วก็ดี ผู้จัดการมรดกจะลาออกจากตำแหน่งโดยมีเหตุอันสมควรก็ได้ แต่ต้องได้ รับอนุญาตจากศาล ตามมาตรา 1727 วรรคสอง
หน้าที่ของทนายความคดีร้องขอถอดถอนผู้จัดการมรดก
1. เตรียมคดี โดยการตรวจสอบข้อเท็จจริงต่างๆ ทั้งจากฝ่ายลูกความและบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
2. ตรวจสอบความเรียบร้อยของเอกสารว่าลูกความว่ามีครบถ้วนถูกต้องหรือไม่ เพราะคดีร้องขอถอดถอน จัดการมรดกอาจต้องมีเอกสารหลักฐานหรือหนังสือสัญญาเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เช่น การตั้งผู้จัดการมรดกไว้ใน พินัยกรรม เป็นต้น
3. ตรวจสอบสิทธิ,หน้าที่ ทรัพย์สินที่เกี่ยวข้องทั้งที่เป็นมรดกและทรัพย์สินของเจ้ามรดกที่ได้มาหลังจากเจ้า มรดกถึงแก่ความตายแล้ว เช่น เงินประกันชีวิต หรือบำเหน็จบำนาญตกทอด เป็นต้น ซึ่งเงินดังกล่าวนำ กฎหมายว่าด้วยมรดกมาเทียบเคียงใช้ด้วย รวมถึงคำนวณยอดหนี้ ค่าเสียหายที่ตกทอดเป็นมรดกโดยรวม ทั้งหมด หรือกรณีที่เกิดจากการที่ผู้่จัดการมรดกทำผิดหน้า่ที่ด้วย
4. ค้นหาข้อกฎหมาย ค้นคำพิพากษาศาลฎีกาที่เกี่ยวข้อง และอายุความหรือระยะเวลาในการดำเนินคดีของลูก ความ
5. ดูแลผลประโยชน์ของลูกความในผลความคืบหน้าของคดีอย่างสม่ำเสมอ
6. ให้คำแนะนำปรึกษาในทางกระบวนพิจารณาของศาลและข้อกฎหมายแก่ลูกความอย่างถูกต้องครบถ้วน เพื่อ ประกอบการตัดสินใจของลูกความ