+66 25 121 941
+66 25 121 941
+66 92 854 8800
ratchadalawfirm32@gmail.com
Facebook
Ratchada Law Firm
หน้าแรก
ทนายความ
งานบริการ
บริการทนายความ
ทนายความคดีกู้ยืมเงิน
ทนายความคดีผิดสัญญา
ทนายคดีซื้อขาย
ทนายความคดีเช่าทรัพท์,เช่าซื้อ
ทนายความคดีค้ำประกัน
ทนายคดีจำนอง,ทนายคดีจำนำ
ทนายคดีประกันภัย
ทนายคดีเช็ค,ทนายคดีตั๋วแลกเงิน,ทนายคดีตั๋วสัญญาใช้เงิน
ทนายความคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน
ทนายคดีบัตรเครดิต
ทนายความคดีที่,กรรมสิทธิ์ที่ดิน,ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
สาระสำคัญของคดีความผิดต่อชีวิต
ทนายคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ทนายความคดีความผิดต่อร่างกาย
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างการผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายและจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้รับอันตรายสาหัส
ทนายคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายคดีความผิดฐานชิงทรัพท์
ทนายคดีความผิดฐานปล้นทรัพท์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพท์
ทนายความคดีฐานฉ้อโกง
บริการติดตามทวงหนี้
บริการด้านจดทะเบียนธุรกิจ
บริการทางการบัญชี-ภาษีอากร
บริการทางด้านบัญชีเพื่อการบริหาร
บริการวางระบบบัญชี
บริการวิเคราะห์งบการเงิน
บริการจดทะเบียนธุรกิจ
การสืบสวน
บทความ
บทความบุตรนอกสมรสกับสิทธิในการรับมรดกของบิดา
บทความสิทธิของผู้ใช้บริการ
บทความการค้ำประกัน
คดีความยาบ้า ยาเสพติด ใส่รูปยาเสพติด
บทความคดีเพ่ง
บทความละเมิดสัญญาและเก็บทรัพย์สินทางปัญญา
บทความทนายความจำเลยในคดีอาญา
บทความใส่ร้ายทนายความ
บทความกฎหมายแรงงานและการจ้างงาน
ส่งผู้ร้ายข้ามแดนคืออะไร?
กรณีตายผิดศีลธรรม
การบอกเลิกสัญญาโดยมิชอบ
คดีความ
คดีแพ่ง
คดีกู้ยืมเงิน
คดีผิดสัญญา
คดีซื้อขาย
คดีเช่าทรัพท์, เช่าซื้อ
คดีค้ำประกัน
คดีจำนอง,จำนำ
คดีประกันภัย
คดีเช็ค,ตั๋วแลกเงิน, ตั๋วสัญญาใช้เงิน
คดีทรัพท์สิน
คดีบัตรเครดิต
คดีที่ดิน, กรรมสิทธิ์ที่ดิน, ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
คดีอาญา
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
คดีความต่อร่างกาย
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้ได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความผิดฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานชิงทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานปล้นทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานฉ้อโกง
ทนายความคดีความผิดฐานยักยอกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานรับของโจร
คดีครอบครัว
คดีฟ้องหย่า
คดีจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
คดีหย่า ที่ต้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดู บุตรหรือคู่สมรส
คดีแบ่งทรัพย์สินระหว่างคู่สมรส
คดีเรียกของหมั้นหรือสินสอดคืน
คดีผิดสัญญาหมั้น
คดีมรดก
คดีจัดการมรดก
คดีจัดทำพินัยกรรม
คดีร้องขอแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
คดีผู้จัดการมรดกเฉพาะส่วน
คดีร้องขอถอดถอนผู้จัดการมรดก
คดีภาษี
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีสอบสวนพิเศษ
ทนายความคดีเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
คดีล้มละลายและคดีฟื้นฟูกิจการ
อสังหาริมทรัพย์
การซื้อที่ดินและทรัพย์สินในประเทศไทย
กรรมสิทธิ์ที่ดินและภาษี
วิธีการที่ บริษัท ไทยสามารถซื้อที่ดิน
การเป็นเจ้าของธุรกิจต่างประเทศ
ผู้ถือหุ้น
สิทธิเก็บกิน
คอนโดมิเนียม
เช่าที่ดิน
วีซ่า
บริการขอวีซ่าและเวิร์คเพอร์มิท
ประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร (Transit Visa)
ประเภทนักท่องเที่ยว (Tourist Visa)
ประเภทคนอยู่ชั่วคราว (Non-Immigrant Visa)
ประเภทฑูต (Diplomatic Visa)
ประเภทราชการ (Offical Visa)
ประเภทอัธยาศัยไมตรี (Courtesy Visa)
ใบอนุญาตทำงานหรือ WORK PERMIT
วีซ่าแต่งงาน
รายละเอียดสำหรับการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นอยู่ในราชอาณาจักร
การยื่นต่ออายุวีซ่า
วีซ่าเกษียณอายุ
บริการแปลเอกสารทุกประเภทและล่ามสื่อสาร 5 ภาษา
บริการรายงานตัวแทน
บริการรายงานตัวแทน
ติดต่อเรา
Menu
หน้าแรก
ทนายความ
งานบริการ
บริการทนายความ
ทนายความคดีกู้ยืมเงิน
ทนายความคดีผิดสัญญา
ทนายคดีซื้อขาย
ทนายความคดีเช่าทรัพท์,เช่าซื้อ
ทนายความคดีค้ำประกัน
ทนายคดีจำนอง,ทนายคดีจำนำ
ทนายคดีประกันภัย
ทนายคดีเช็ค,ทนายคดีตั๋วแลกเงิน,ทนายคดีตั๋วสัญญาใช้เงิน
ทนายความคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน
ทนายคดีบัตรเครดิต
ทนายความคดีที่,กรรมสิทธิ์ที่ดิน,ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
สาระสำคัญของคดีความผิดต่อชีวิต
ทนายคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ทนายความคดีความผิดต่อร่างกาย
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างการผู้อื่นโดยเจตนา
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายและจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้รับอันตรายสาหัส
ทนายคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายคดีความผิดฐานชิงทรัพท์
ทนายคดีความผิดฐานปล้นทรัพท์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพท์
ทนายความคดีฐานฉ้อโกง
บริการติดตามทวงหนี้
บริการด้านจดทะเบียนธุรกิจ
บริการทางการบัญชี-ภาษีอากร
บริการทางด้านบัญชีเพื่อการบริหาร
บริการวางระบบบัญชี
บริการวิเคราะห์งบการเงิน
บริการจดทะเบียนธุรกิจ
การสืบสวน
บทความ
บทความบุตรนอกสมรสกับสิทธิในการรับมรดกของบิดา
บทความสิทธิของผู้ใช้บริการ
บทความการค้ำประกัน
คดีความยาบ้า ยาเสพติด ใส่รูปยาเสพติด
บทความคดีเพ่ง
บทความละเมิดสัญญาและเก็บทรัพย์สินทางปัญญา
บทความทนายความจำเลยในคดีอาญา
บทความใส่ร้ายทนายความ
บทความกฎหมายแรงงานและการจ้างงาน
ส่งผู้ร้ายข้ามแดนคืออะไร?
กรณีตายผิดศีลธรรม
การบอกเลิกสัญญาโดยมิชอบ
คดีความ
คดีแพ่ง
คดีกู้ยืมเงิน
คดีผิดสัญญา
คดีซื้อขาย
คดีเช่าทรัพท์, เช่าซื้อ
คดีค้ำประกัน
คดีจำนอง,จำนำ
คดีประกันภัย
คดีเช็ค,ตั๋วแลกเงิน, ตั๋วสัญญาใช้เงิน
คดีทรัพท์สิน
คดีบัตรเครดิต
คดีที่ดิน, กรรมสิทธิ์ที่ดิน, ครอบครองปรปักษ์,บุกรุก, เรียกที่ดินคืน
ทนายความคดีเพิกถอนนิติกรรม,เพิกถอนการให้
คดีอาญา
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
คดีความต่อร่างกาย
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นโดยเจตนา
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
คดีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
คดีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
ทนายความคดีความผิดฐานทำร้ายผู้อื่นให้ได้รับอันตรายสาหัส
ทนายความคดีความผิดต่อทรัพย์สิน
ทนายความคดีความผิดฐานลักทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานชิงทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานปล้นทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานกรรโชกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานฉ้อโกง
ทนายความคดีความผิดฐานยักยอกทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
ทนายความคดีความผิดฐานรับของโจร
คดีครอบครัว
คดีฟ้องหย่า
คดีจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
คดีหย่า ที่ต้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดู บุตรหรือคู่สมรส
คดีแบ่งทรัพย์สินระหว่างคู่สมรส
คดีเรียกของหมั้นหรือสินสอดคืน
คดีผิดสัญญาหมั้น
คดีมรดก
คดีจัดการมรดก
คดีจัดทำพินัยกรรม
คดีร้องขอแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
คดีผู้จัดการมรดกเฉพาะส่วน
คดีร้องขอถอดถอนผู้จัดการมรดก
คดีภาษี
ทนายความคดีความผิดต่อชีวิต
คดีสอบสวนพิเศษ
ทนายความคดีเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ
คดีล้มละลายและคดีฟื้นฟูกิจการ
อสังหาริมทรัพย์
การซื้อที่ดินและทรัพย์สินในประเทศไทย
กรรมสิทธิ์ที่ดินและภาษี
วิธีการที่ บริษัท ไทยสามารถซื้อที่ดิน
การเป็นเจ้าของธุรกิจต่างประเทศ
ผู้ถือหุ้น
สิทธิเก็บกิน
คอนโดมิเนียม
เช่าที่ดิน
วีซ่า
บริการขอวีซ่าและเวิร์คเพอร์มิท
ประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร (Transit Visa)
ประเภทนักท่องเที่ยว (Tourist Visa)
ประเภทคนอยู่ชั่วคราว (Non-Immigrant Visa)
ประเภทฑูต (Diplomatic Visa)
ประเภทราชการ (Offical Visa)
ประเภทอัธยาศัยไมตรี (Courtesy Visa)
ใบอนุญาตทำงานหรือ WORK PERMIT
วีซ่าแต่งงาน
รายละเอียดสำหรับการยื่นคำขอเพื่อมีถิ่นอยู่ในราชอาณาจักร
การยื่นต่ออายุวีซ่า
วีซ่าเกษียณอายุ
บริการแปลเอกสารทุกประเภทและล่ามสื่อสาร 5 ภาษา
บริการรายงานตัวแทน
บริการรายงานตัวแทน
ติดต่อเรา
Attorney of
Civil case
Criminal law case
Family Law case
Heritage case
Criminal Law case
Administrative case
Taxes Law case
บริษัทกฏหมายที่มีความน่าเชื่อถือใน ประเทศไทย
เรทราคาที่ยอมรับได้
ทุกปัญหา
ทางกฏหมาย สามารถติดต่อปรึกษาได้ ฟรี!
เริ่มต้นกับเราวันนี้
Please enable JavaScript in your browser to complete this form.
Phone
Submit
คดีจัดทำพินัยกรรม
สาระสำคัญของพินัยกรรม
1. พนัยกรรมมีกฎหมายบัญญัติรับรองอยู่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 6 มรดก ลักษณะ 3 ว่า ด้วยเรื่อง "พินัยกรรม" มีอยู่ทั้งสิ้น 6 หมวด คือ หมวด 1 บทเบ็ดเสร็จทั่วไป , หมวด 2 แบบพินัยกรรม , หมวด 3 ผลและการตีความแห่งพินัยกรรม , หมวด 4 พินัยกรรมที่ตั้งผู้ปกครองทรัพย์ , หมวด 5 การเพิกถอนและการตก ไปแห่งพินัยกรรมทหรือข้อกำหนดพินัยกรรม , หมวด 6 ความเสียเปล่าแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
2.บุคคลใดจะแสดงเจตนาโดยพินัยกรรมกำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินของตนเอง หรือในการต่างๆ อัน จะให้เกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตายก็ได้ ตามมาตรา 1646 ดังนั้น การทำพินัย คือการแสดงเจตนา ทำนิติกรรมอย่างหนึ่ง เป็นการแสดงเจตนาเผื่อตายนั้นเอง
3. การทำทำพินัยกรรมเป็นการทำนิติกรรมฝ่ายเดียวโดยเคร่งครัด หมายความว่า นิติกรรมฝ่ายเดียวที่ไม่จำ ต้องมีผู้รับการแสดงเจตนานั่นเอง
4. การแสดงเจตนากำหนดการเผื่อตายนั้นย่อมทำได้ด้วยคำสั่งสุดท้ายกำหนดไว้ในพินัยกรรม ตามมาตรา 1647
5. พินัยกรรมต้องทำตามแบบซึ่งระบุไว้ในหมวด 2 แห่งลักษณะนี้ ตามมาตรา 1648
5.1 พินัยกรรมนั้น จะทำตามแบบธรรมดา โดยต้องทำเป็นหนังสือ ลงวัน เดือน ปี ในขณะทำขึ้น และผู้ทำ พินัยกรรมต้องลงลายมือชื่อไว้ต่อหน้าพยานอย่างน้อย 2 คนพร้อมกัน ซึ่งพยาน 2 คนนั้นต้องลงลายมือชื่อ รับรองลายมือชื่อของผู้ทำพินัยกรรมไว้ในขณะนั้นด้วย ตามมาตรา 1656 วรรคหนึ่ง
การขูดลบ ตก เติม หรือการแก้ไข เปลี่ยนแปลงอย่างอื่น ซึ่งพินัยกรรมนั้นย่อมสมบูรณ์ เว้นแต่จะได้ปฏิบัติ ตามแบบอย่างเดียวกับการทำพินัยกรรมตามมาตรานี้ ตามมาตรา 1656 วรรคสอง นั่นก็คือมีการลงวัน เดือน ปี ขณะทำขึ้น และผู้ทำพินัยกรรมต้องลงลายมือชื่อไว้ต่อหน้าพยานอย่างน้อย 2 คนพร้อมกัน ซึ่งพยาน 2 คนนั้น ต้องลงลายมือชื่อรับรองลายมือชื่อของผู้ทำพินัยกรรมไว้ในขณะนั้นด้วย เช่นเดียวกับวรรคหนึ่งนั่นเอง
5.2 พินัยกรรมนั้น จะทำเป็นเอกสารเขียนเองทั้งฉบับก็ได้ กล่าวคือผู้ทำพินัยกรรมต้องเขียนด้วยมือของ ตนเอง ซึ่งข้อความทั้งหมด วัน เดือน ปี และลายมือชื่อของตน ตามมาตรา 1657 วรรคหนึ่ง
การขูด ลบ ตก เติม หรือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงอย่างอื่นซึ่งพินัยกรรมนั้นย่อมไม่สมบูรณ์ เว้นแต่ผู้ทำ พินัยกรรมจะได้ทำด้วยลายมือตนเอง และลงลายมือชื่อกำกับไว้ ตามมาตรา 1657 วรรคสอง
บทบัญญัติมาตรา 9 แห่งประมวลกฎหมายนี้ มิให้นำมาใช้บังคับแก่พินัยกรรมที่ทำขึ้นตามมาตรานี้ ตาม มาตรา 1657 วรรคท้าย นั้นคือ จะใช้วิธีที่ผู้ทำพินัยกรรม จะไม่เขียนเองเ่พียงแต่ลงลายมือชื่อไม่ได้ หรือจะ พิมพ์ลายนิ้วมือ ตราประทับ หรือแกงได แล้วมีพยานสองคนลงลายมือชื่อรับรองไม่ได้นั่นเอง
5.3 พินัยกรรมนั้น จะทำเป็นเอกสารฝ่ายเมืองก็ได้ กล่าวคือ (ตามมาตรา 1658 วรรคหนึ่ง)
(1) ผู้ทำพินัยกรรมต้องไปแจ้งข้อความที่ตนประสงค์จะให้ใส่ไว้ในพินัยกรรมของตนแก่กรมการอำเภอต่อ หน้าพยานอีกอย่างน้อยสองคนพร้อมกัน
(2) กรมการอำเภอต้องจดข้อความข้อความที่ผู้ทำพินัยกรรมแจ้งให้ทราบนั้นลงไว้ และอ่านข้อความนั้นให้ ผู้ทำพินัยกรรมและพยานฟัง
(3) เมื่อผู้ทำพินัยกรรมและพยานทราบแน่ชัดว่า ข้อความที่กรมการอำเภอจดนั้นเป็นการถูกต้องตรงกันกับ ที่ผู้ทำพินัยกรรมแจ้งไว้แล้ว ให้ผู้ทำพินัยกรรมและพยานลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญ
การขูด ลบ ตก เติม หรือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงอย่างอื่น ซึ่งพินัยกรรมนั้นย่อมไม่สมบูรณ์ เ้ว้นแต่ผู้ทำ พินัยกรรม พยาน และกรมการอำเภอจะได้ลงลายมือชื่อกำกับไว้
5.4 พินัยกรรมนั้น จะทำเป็นเอกสารลับก็ได้ กล่าวคือ (ตามมาตรา 1660 วรรคหนึ่ง)
(1) ผู้ทำพินัยกรรมต้องลงลายมือชื่อในพินัยกรรม
(2) ผู้ทำพินัยกรรมต้องผนึกพินัยกรรมนั้น แล้วลงลายมือชื่อคาบรอยผนึกนั้น
(3) ผู้ืทำพินัยกรรมต้องนำพินัยกรรมที่ผนึกนั้นไปแสดงต่อกรมการอำเภอ และพยานอีกอย่างน้อยสองคน และให้ถ้อยคำต่อบุคคลทั้งหมดเหล่านั้น ว่าด้วยพินัยกรรมของตน และให้ถ้อยคำต่อบุคคลทั้งหมดเหล่านั้น ว่า เป็นพินัยกรรมของตน ถ้าพินัยกรรมนั้นผู้ทำพินัยกรรมมิได้เป็นผู้เขียนเองโดยตลอด ผู้ทำพินัยกรรมจะต้องแจ้ง นามและภูมิลำเนาของผู้เขียนให้ทราบด้วย
(4) เมื่อกรมการอำเภอจดถ้อยคำของผู้ทำพินัยกรรมและวัน เดือน ปี ที่นำพินัยกรรมมาแสดงไว้บนซองนั้น และประทับตราตำแหน่งแล้ว ให้กรมการอำเภอผู้ทำพินัยกรรมและพยานลงลายมือชื่อบนซองนั้น
การขูดลบ ตก เติม หรือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงอย่างอื่น ซึ่งพินัยกรรรมนั้นย่อมไม่สมบูรณ์ เว้นแต่ผู้ืทำ พินัยกรรมจะได้ลงลายมือชื่อกำกับไว้ ตามมาตรา 1661 วรรคสอง
ถ้าบุคคลผู้ทั้งใบและหูหนวกหรือผู้ที่พูดไม่ได้ มีความประสงค์จะทำพินัียกรรมเป็นแบบเอกสารลั ให้ผู้นั้น เขียนด้วยตนเองบนซองพินัียกรรมต่อหน้ากรมการอำเภอและพยานซึ่งข้อความว่าพินัยกรรมที่ผนึกไว้นั้นเป็น ของตนแทนการให้ถ้อยคำดังที่กำหนดไว้ในมาตรา 1660 (3) และถ้าหากมีผู้เขียนก็ให้เขียนชื่อกับภูมิลำเนา ของผู้เขียนพินัยกรรมนั้นไว้ด้วย ตามมาตรา 1661 วรรคหนึ่ง
ให้กรมการอำเภอจดลงไว้บนซองเป็นสำคัญว่า ผู้ทำพินัยกรรมได้ปฏิบัติตามข้อความในวรรคก่อนแล้ว แทนการจดถ้อยคำของผู้ทำพินัยกรรม ตามมาตรา 1661 วรรคสอง
พินัียกรรมซึ่งได้ทำแบบเอกสารฝ่ายเมืองหรือเอกสารลับนั้น กรมการอำเภอจะเปิดเผยแก่บุคคลอื่นใดไมได้ ในระหว่างที่ผู้ทำพินัยกรรมยังมีชีวิตอยู่ และผู้ทำพินัยกรรมจะเรียกให้กรมการอำเภอส่งมอบพินัยกรรมนั้นแก่ ตนในเวลาใดๆ กรมการอำเภอจำต้องส่งมอบให้ ตามมาตรา 1662 วรรคหนึ่ง
ถ้าพินัยกรรมนั้นทำเป็นแบบเอกสารฝ่ายเมือง ก่อนส่งมอบพินัยกรรม ให้กรมการอำเภอคัดสำเนา พินัยกรรมไว้แล้วลงลายมือชื่อประทับตราตำแหน่งเป็นสำคัญ สำเนาพินัยกรรมนั้นจะเปิดเผยแก่บุคคลอื่นใดไม่ ได้ ในระหว่างที่ผู้ทำพินัยกรรมยังมีชีวิตอยู่ ตามมาตรา 1662 วรรคสอง
5.5 เมื่อมีพฤติการณ์พิเศษซึ่งบุคคลใดไม่สามารถจะทำพินัยกรรมตามแบบอื่นที่กำหนดไว้ได้ เช่นตกอยู่ใน อันตรายใกล้ความตาย หรือเวลามีโรคระบาด หรือสงคราม บุคคลนั้นจะทำพินัยกรรมด้วยวาจาก็ได้ ตาม มาตรา
1663 วรรคหนึ่ง
เพื่อการนี้ ผู้ทำพินัียกรรมต้องแสดงเจตนากำหนดข้อพินัยกรรมต่อหน้าพยานอย่างน้อยสองคนซึ่งอยู่ พร้อมกัน ณ ที่นั้น ตามมาตรา 1663 วรรคสอง
พยาน 2 คนนั้นต้องไปแสดงตนต่อกรมการอำเภอโดยมิชักช้าและแจ้งข้อควาทมที่ผู้ทำพินัยกรรมได้สั่งไว้ ด้วยวาจานั้น ทั้งต้องแจ้งวัน เดือน ปี สถานที่ที่ทำพินัยกรรมและพฤติการณ์พิเศษนั้นไว้ด้วย ตามมาตรา 1663 วรรคสาม
ให้กรมการอำเภอจดข้อความที่พยานแจ้งนั้นไว้ และพยาน 2 คนนั้นต้องลงลายมือชื่อไว้ หรือมิฉะนั้น จะ ให้เสมอกับการลงลายมือชื่อได้ก็แต่ด้วยลงลายพิมพ์นิ้วมือโดยมีพยานลงลายมือชื่อรับรอง 2 คน ตามมาตรา 1663 วรรคท้าย
ความสมบูรณ์แห่งพินัยกรรมซึ่งทำขึ้นตามมาตราก่อนนั้นย่อมสิ้นไปเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งเดือนนับแต่เวลาผู้ ทำพินัยกรรมกลับมาสู่ฐานะที่จะทำพินัยกรรมตามแบบอื่นที่กำหนดไว้ได้ ตามมาตรา 1664
6. ผู้ทำพินัยกรรมจะต้องลงลายมือชื่อตามมาตรา 1656 , 1658 , 1660 จะให้เสมอกับลงลายมือชื่อได้ก็แต่ด้วย ลงลายพิมพ์นิ้วมือโดยมีพยานลงลายมือชื่อรับรองไว้ด้วยสองคนในขณะนั้น ตามมาตรา 1665 ซึ่งไม่รวมมาตรา 1657 พินัยกรรมแบบเขียนเอง ซึ่งผู้ทำพินัยกรรมจะต้องลงลายมือชื่อของตนเองเท่านั้นจะพิมพ์ลายนิ้วมือไม่ได้
7. บทบัญญัติมาตรา 9 วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายนี้ มิให้ใช้บังคับแก่พยานผู้ที่จะต้องลงลายมือชื่อตาม มาตรา 1656 , 1658 , 1660 (ตามมาตรา 1666) หมายความว่า พยานในพินัยกรรมจะลงลายพิมพ์นิ้วมือแล้ว ให้พยานอีกสองคนรับรองลายพิมพ์นิ้วมือเหมือนผู้ทำพินัยกรรมไม่ได้นั่นเอง
8. บุคคลต่อไปนี้จะเป็นพยานในการทำพินัยกรรมไม่ได้ (ตามมาตรา 1670)
(1) ผู้ซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ
(2) บุคคลวิกลจริตหรือบุั่คคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นผู้เสมือนไรความสามารถ
(3) บุึคคลที่หูหนวก เป็นใบ้ หรือจักษุบอดทั้งสองข้าง
9. ผู้เขียน หรือพยานในพินัยกรรมจะเป็นผู้รับทรัพย์ตามพินัยกรรมไม่ได้ ตามมาตรา 1653 วรรคหนึ่ง
ให้ใช้บทบัญญัติในวรรคก่อนบังคับแก่คู่สมรสของผู้เขียนหรือพยานในพนัยกรรมด้วย ตามมาตรา 1653 วรรคสอง
10. พินัยกรรมซึ่งบุคคลที่มีอายุยังไม่ครบ 15 ปีบริบูรณ์ทำขึ้นนั้น เป็นโมฆะ ตามมาตรา 1703
11. พินัยกรรมซึ่งบุคคลผู้ถูกศาลสั่งให้เป็นคนไรความสามารถทำขึ้น เป็นโมฆะ ตามมาตรา 1704 วรรคหนึ่ง
พินัยกรรมซึ่งบุคคลผู้ถูกอ้างว่าเป็นคนวิกลจริต แต่ศาลยังไม่ได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถทำขึ้นนั้น จะ เป็นอันเสียเปล่าก็แต่เมื่อพิสูจน์ได้ว่าในเวลาที่ทำนั้นผู้ทำจริตวิกลอยู่ ตามมาตรา 1704 วรรคสอง
ดังนั้น พินัยกรรมที่ทำขึ้นโดยบุคคลผู้ถูกศาลสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถไม่ตกเป็นโมฆะ คือ สมบูรณ์มีผลตามกฎหมายได้
12. พินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรมนั้นถ้าได้ทำขึ้นขัดต่อบทบัญญัติแห่งมาตรา 1652 , 1653 , 1656 , 1567 , 1658 , 1660 , 1661 หรือ 1663 ย่อมเป็นโมฆะ ตามมาตรา 1705 นั่นคือ กรณีผู้อยู่ในความปกครองทำ พินัยกรรมยกทรัพย์สินให้ผู้ปกครอง หรือคู่สมรสหรือผู้สืบสันดาหรือพี่น้องของผู้ปกครอง , กรณีผู้เขียนหรือ พยานในพินัยกรรมหรือคู่สมรสของผู้เขียนหรือของพยานในพินัยกรรมเป็นผู้รับพินัยกรรมด้วย หรือพินัยกรรม ทำไม่ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกำหนดไว้ตามแต่ละแบบต่างๆ นั่นเอง
หน้าที่ของทนายความคดีจัดทำพินัยกรรม
1. เตรียมคดี โดยการตรวจสอบข้อเท็จจริงต่างๆ ทั้งจากฝ่ายลูกความและบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
2. ตรวจสอบความเรียบร้อยของเอกสารว่าลูกความว่ามีครบถ้วนถูกต้องหรือไม่ เพราะคดีจัดทำพินัยกรรมต้องมี พยานเอกสารมาแสดงในการสืบพยานในศาลด้วยตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 เพราะการทำพินัยกรรมมีแบบกำหนดไว้ตามกฎหมายจึงจะสมบูรณ์ตามกฎหมาย
3. ตรวจสอบสิทธิ,หน้าที่ ทรัพย์สินที่เกี่ยวข้องทั้งที่เป็นมรดกและทรัพย์สินของเจ้ามรดกที่ได้มาหลังจากเจ้า มรดกถึงแก่ความตายแล้ว เช่น เงินประกันชีวิต หรือบำเหน็จบำนาญตกทอด เป็นต้น ซึ่ง เงินดังกล่าวนำ กฎหมายว่าด้วยมรดกมาเทียบเคียงใช้ด้วย รวมถึงคำนวณยอดหนี้ ค่าเสียหายที่ตกทอดเป็นมรดกโดยรวม ทั้งหมด หรือกรณีที่เกิดจากการที่ผู้่จัดการมรดกทำผิดหน้า่ที่ด้วย
4. ตรวจดูพินัยกรรมทั้งฉบับหรือข้อกำหนดแต่ละข้อว่ามีผลบังคับตามกฎหมายหรือไม่ หรือตกไปด้วยสาเหตุใด และพินัยกรรมสมบูรณ์ในแบบใดตามกฎหมาย
5. ค้นหาข้อกฎหมาย ค้นคำพิพากษาศาลฎีกาที่เกี่ยวข้อง และอายุความหรือระยะเวลาในการดำเนินคดีของลูก ความ
6. ดูแลผลประโยชน์ของลูกความในผลความคืบหน้าของคดีอย่างสม่ำเสมอ
7. ให้คำแนะนำปรึกษาในทางกระบวนพิจารณาของศาลและข้อกฎหมายแก่ลูกความอย่างถูกต้องครบถ้วน เพื่อ ประกอบการตัดสินใจของลูกความ